งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการ เขตสุขภาพที่ 10 นพ.กิตติวัฒน์ มะโนจันทร์ ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์เขต 10 กรมการแพทย์

2 ข้อมูลบริบทและการจัดการเครือข่ายตามสภาพทางภูมิศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 10
A รพ.สรรพสิทธิฯ S มุกดาหาร M1(S) วารินฯ S ๕๐ พรรษาฯ M2(M1) รพ.ตระการฯ รพ.มะเร็ง รพ.พระศรีมหาโพธิ์ รพ.ค่ายสรรพสิทธิฯ M2 .พิบูลฯ M1(S) เดชอุดม M2(M1) กันทรลักษ์ F1(M2) ขุนหาญ M2 ขุขันธ์ M2(M1) อุทุมพร F1(M2) ราษีไศล S ศรีสะเกษ S อำนาจเจริญ F1(M2) เลิงนกทา ยโสธร F2(F1) คำชะอี F1 กันทรารมย์ 1. โซนเหนือ รพ.มุกดาหาร ยโสธร และ อำนาจเจริญ รพร.เลิงนกทา 1.2 ล้าน คน 2. โซนกลาง รพ.สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานีทั้งจังหวัด 1.4 ล้าน คน 1.8 ล้าน คน 3. โซนใต้ รพ. ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ทั้งจังหวัด หน่วยบริการในเขตสุขภาพ A S M1 M2 F1 F2-F3 รวม P1-P2 1 5 2 4 54 71 838

3 13 ตัวชี้วัด

4 2. ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One day Surgery (ร้อยละ 15 )
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ ODS 2. ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One day Surgery (ร้อยละ 15 ) - เขตสุขภาพที่ 10 มี รพ.ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ ODS จำนวน 9 แห่ง คือ รพ.สรรพสิทธิประสงค์, รพ. 50 พรรษา, รพ.เดชอุดม, รพ.ตระการ, รพ.ศรีสะเกษ, รพ.กันทรลักษณ์, รพ.ยโสธร, รพ.สมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา, รพ.มุกดาหาร สถานการณ์ Diagnosis อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ มุกดาหาร 1.Inguinal hernia 2.Hydrocele 3.Hemorrhoid 4.Vaginal bleeding 5.Esophagogastric varices 6.Esophageal stricture 7.Esophagogastric CA obstruction 8. Colorectal polyp 9. Common Bile duct stone 10.Pancreatic duct stone 11.Bile duct stricture 12.Pancreatic duct stricture 3. Anal Procedure 5.Anal Procedure 4.Testis Procedure 6.Testis Procedure เขตสุขภาพที่ 10 10 โรค มาตรการ/ผลการ ดำเนินงาน **รพ.อำนาจเจริญกำลังดำเนินการจัดตั้งทีมและศูนย์ One Day Surgery และจะขอรับการประเมินจากผู้แทนเขตโดยวางแผนขอทำ ๔ หัตถการ

5 ODS ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ จุดเด่น โอกาสพัฒนา
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ ODS 2. ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One day Surgery (ร้อยละ 15 ) จังหวัด ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery (เป้าหมาย: ร้อยละ 15 เมื่อสิ้นสุดปีงบฯ 2561) หมายเหตุ จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery (A) จำนวนผู้ป่วยที่เข้าเงื่อนไขในการเข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery (B) ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้า รับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery (A/B)x100 จังหวัดอุบลราชธานี 183 2,757 6.63 จังหวัดศรีสะเกษ 23 216 10.65 จังหวัดยโสธร - จังหวัดมุกดาหาร 5 46 10.87 จังหวัดอำนาจเจริญ 2 30 6.67 ภาพรวมเขต 10 213 3,049 6.99 ผลการดำเนินงาน จ.ยโสธร ปี มีการบริการ Same Day Surgery 336 ราย และ Admission on day of procedure 409 ราย จุดเด่น รพ.สรรพสิทธิประสงค์จัดตั้งคณะกรรมการ ODS ระดับเขต และระดับโรงพยาบาล จังหวัดศรีสะเกษมีการจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย ความปลอดภัย การเตรียมความพร้อมที่ชัดเจน เพิ่มและขยายกลุ่มโรคใน 12 โรคที่กำหนด เพิ่มการเก็บข้อมูลจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่เข้าเงื่อนไข ODS - พัฒนา รพ.ที่มีศักยภาพ - Shared Resource ภายในจังหวัดและเขตสุขภาพ - วางแผนบริหารจัดการเตียงภายในรพ.เครือข่าย - จัดทำแนวทาง/ข้อเสนอแนะ เช่น กรณี Case ตัวอย่าง โอกาสพัฒนา

6 (90%) of the key populations
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ 3. อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ National 5% Dead Rate Region10th 72% 87% 86.99% 7% จังหวัด 90% of All people with TB (90%) of the key populations 90% Treatment Success < 5% Dead Rate อุบลราชธานี 82 88.60 80.83 9.90 ศรีสะเกษ 83.6 86.01 89.03 8.52 ยโสธร 74 99.80 88.67 5.23 อำนาจเจริญ 58 72.57 83.01 8.10 มุกดาหาร 90.38 86.43 4.42 ที่มา: Data ปีงบประมาณ 2559

7 ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ 3. อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ 1. เปิดศูนย์ NOC-TB 2. กิจกรรมค้นให้พบ - จังหวัดมีกิจกรรมค้นหาวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ใน 6 กลุ่มหลักได้แก่ ผู้ต้องขัง ผู้สัมผัส ผู้ป่วยHIV ผู้สูงอายุ ≥65 ปีและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แรงงานข้ามชาติ (ดำเนินการได้ 50% ของเป้าหมาย) 3. จบด้วยหาย (Success rate > 85%) - ให้การรักษาตามมาตรฐาน - มีกำกับติดตามผู้ป่วยทุกราย โดยเจ้าหน้าที่ และ อสม. - มีระบบรายงานการกำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรคผ่านระบบ Line, Spot map มาตรการดำเนินงาน รอบ 1/2561 (1 ต.ค.60-31ธ.ค.60) พบผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ จำนวน 971 คน กำลังรักษา 909 คน (93.61%) เสียชีวิต 42 คน (4.4%) จะติดตามประเมินผลการรักษา ณ วันที่ 31 ส.ค. 2561 ผลการดำเนินงาน ลดการเสียชีวิต -รพศ, รพท. ซึ่งพบอัตราการเสียชีวิตสูง ควรใช้ Model และ 3C Model ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดเพื่อลดการเสียชีวิตโดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุและมีโรคเรื้อรังร่วม โอกาสพัฒนา

8 นวัตกรรมเด่นในพื้นที่
อุบลราชธานี: 3C,4S ศรีสะเกษ: 2-2-2, กล่อง 3 รัก ยโสธร DOT by Heart โดยเจ้าหน้าที่ อำนาจเจริญ: Spot Map มุกดาหาร: กระเป๋าปฏิทินยา

9 ผลการดำเนินงาน จำแนกรายจังหวัด
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ : จำนวนเมืองสมุนไพร เขตละ 1 จังหวัด ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) : ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ร้อยละ20) ค่าเฉลี่ย 24.13% ผลการดำเนินงาน จำแนกรายจังหวัด ค่าเฉลี่ย 23.23% อ้างอิงจาก HDC Service ข้อมูล ณ วันที่ 25 มีนาคม 2561

10 ประเด็นปัญหา แนวทางการแก้ไข
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ : จำนวนเมืองสมุนไพร เขตละ 1 จังหวัด ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) : ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ร้อยละ20) ค่าเฉลี่ย 24.13% ประเด็นปัญหา แนวทางการแก้ไข 1. แพทย์แผนไทยไม่มีใบประกอบวิชาชีพฯ 1. สร้างความตระหนักและชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการมีใบประกอบวิชาชีพฯ 2. อบรมเพิ่มความรู้ ทักษะทางวิชาชีพฯ 2. แพทย์แผนไทยออกให้บริการชุมชน (เชิงรุก) น้อย 1.กระตุ้นแพทย์แผนไทยได้รับรู้และตระหนักถึงประโยชน์ของการดูแลสุขภาพผู้ป่วยในชุมชนร่วมกับสหวิชาชีพ 2. กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคลสำหรับการให้บริการเชิงรุก 3. การดำเนินงานแพทย์แผนไทยขาดการติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง กำหนดให้มีการจัดทำรายงานการให้บริการการแพทย์แผนไทยฯ ประจำเดือน เพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้บริหารในการตัดสินใจ 4. บุคลากรทางการแพทย์มีการสั่งจ่ายยาสมุนไพรกับผู้ป่วยน้อย 1. จัดทำบัญชีรายการยาสมุนไพร ที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ (แบบสั้นกระชับ) เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. ประชาสัมพันธ์ประโยชน์ของยาสมุนไพรกับผู้ป่วย ทั้งภายใน-นอก หน่วยบริการ 5. ยาสมุนไพรมีราคาแพง 1. ผู้รับผิดชอบ ควรกำหนดแหล่งปลูกสมุนไพรรวมถึงการผลิตยาสมุนไพร ในแต่ละชนิดไม่ให้ซ้ำซ้อนกันและแหล่งผลิตยาสมุนไพรนั้น ควรอยู่ใกล้หน่วยบริการเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง 2. ประชาสัมพันธ์ถึงประโยชน์ของการใช้ยาสมุนไพรให้กับประชาชนและผู้ป่วย เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้ยาสมุนไพร

11 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) Health Outcome : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (น้อยกว่าร้อยละ 7) สถานการณ์ ตัวชี้วัด : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) <7% Small Success : อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองแตก (I60-I62)≤25% : อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (I63)≤5% ประเด็นหลัก 1) การจัดตั้ง Stroke Unit ใน รพ.ระดับ A,S 2) ปรับเพิ่มจำนวนเตียง Stroke Unit ให้เหมาะสม 3) การจัดการและให้บริการกรณี Hemorrhage ใน Stroke Unit 4) การพัฒนาเครือข่ายการรับ-ส่งต่อผู้ป่วย

12 ข้อมูลจาก HDC ต.ค 60 –28 มี.ค 61

13

14

15 Stroke Unit มี Stroke corner ที่รพ.เดชอุดม 4 เตียง
โรงพยาบาล ควรมีเตียง SU จำนวนเตียงที่มี ผ่านการประเมิน SU โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 30 12 ผ่าน โรงพยาบาลศรีสะเกษ 22 8 โรงพยาบาลยโสธร 11 รอประเมินปี 2561 โรงพยาบาลอำนาจเจริญ 4 โรงพยาบาลมุกดาหาร 7 ภาพรวมเขต 78 (5,680x5÷365) 40 ขาด 38 เตียง มี Stroke corner ที่รพ.เดชอุดม 4 เตียง Plan เปิด Stroke Corner ที่รพ.50 พรรษา และระดับ M

16 นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง
โอกาสพัฒนา พิจารณาขยาย Node rt-PA เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระยะเวลาการให้ยาและลด DTN Time และลดอัตราตาย ( 50 พรรษา ตระการฯ เดชอุดม , กันทรลักษ์) โรงพยาบาลระดับ M ที่ควรเปิด Node ให้ยา ยังขาดCT Scan เพิ่ม Stroke Unit ในรพระดับ S ( 50พรรษาฯ ,เดชอุดม) การดำเนินการ Stroke Alert Awareness อย่างต่อเนื่อง และประเมินคุณภาพจากกลุ่มป่วย การคัดกรองและมาตรการกลุ่มเสี่ยงใน NCD Clinic & ประเมินคุณภาพจากกลุ่มป่วย รับไปประสานส่วนกลาง นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง เพิ่มแพทย์ Med ในรพช.ที่เป็น Node เตรียมให้ยา ทุน/สถานที่เรียน Stroke Nurse งบลงทุน (CT) ระบบ Pre-Hospital และ Stroke Fast Track ที่ศรีสะเกษ สามารถเพิ่มการเข้าถึงเข้ารับบริการได้ดีจนเกินค่าเป้าหมาย และสามารถให้ยาได้เพิ่มขึ้น DTN Time ภายใน 60 นาที ร้อยละ98 -รพ.ยโสธรพัฒนา In Hospital จนมีผลงานโดดเด่นสามารถให้ยาภายใน 60 นาทีได้ทุกราย ยังขาดผู้เชี่ยวชาญ จึงยังมีการ Refer ไปแม่ข่าย ขาดNeuro med/Surg (อำนาจ) Neuro Surg. ศรีษะเกษ)→ มีในระบบแล้วรอจบปี 2561 ยโสธรขาด Neuro med (ย้าย)

17 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.1 Health Outcome :SP6. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 27 ต่อแสนประชากร) 3.2 Service Outcome : SP7. ร้อยละ โรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไป สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ (ร้อยละ 100) 1. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยอุบลราชธานีสูงที่สุด รองลงมาคือจังหวัดยโสธร คิดเป็น๑๙.๙๓ และ ๑๓.๙๐ ต่อแสนประชากร ตามลำดับ 2. โรงพยาบาล F๒ ขึ้นไปทุกแห่งมีศักยภาพในการให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ แต่ยังไม่มีเคสในการให้ยาละลายลิ่มเลือด จังหวัดที่มีการให้ยาละลายลิ่มเลือดสูงที่สุดคือ จังหวัดยโสธร รองลงมาคือจังหวัดศรีสะเกษ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และ ๗๓.๖๘ ตามลำดับ สถานการณ์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย อบ ศก อจ ยส มห ภาพรวม 1. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ > 70% 19.93 3.36 13.90 7.15 7.44 10.36 2. ผู้ป่วย STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือด 90.00 67.24 69.23 42.85 80.00 75.98 3. อัตราการเสียชีวิต < 10 % 11.11 20.96 11.54 28.57 20.00 15.28 4. โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปมีการให้ยาละลายลิ่มเลือด 100% 71.43 73.86 100.00 42.86 75.58 มาตรการ/ ผลการ ดำเนินงาน /52 ปัญหาอุปสรรค - อัตราการเสียชีวิตสูงเนื่องจากผู้ป่วยมีอาการรุนแรงเมื่อมาถึงรพ. - ทบทวนทักษะต่างๆในการดูแล รักษาผู้ป่วย STEMI(F2,F3 ที่ไม่มี case ให้ SK) - เพิ่มความมั่นใจและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการให้ยา โอกาสพัฒนา

18 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.1 Health Outcome 7. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit) (น้อยกว่าร้อยละ 12) อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมงในรพ.ระดับ F2ขึ้นไป 2.39 ร้อยละ ICU Mobile และการบันทึกจุดเสี่ยงทาง Google Map ของจังหวัดอุบลราชธานี Bed Sharing, E-Refer ในการประสานส่งกลับผู้ป่วยกลับ รพช.ของศรีสะเกษ โครงข่ายใยแมงมุมการกู้ชีพโรงพยาบาลยโสธร การพัฒนาระบบข้อมูลโดย TEA Unit ในโรงพยาบาลระดับ S และ A จุดเด่น มีการรวบรวมข้อมูลการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่ Admit จากห้องฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง มีการทบทวน Review & conference การเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต วิเคราะห์โรคและสาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินในระบบFast Track , ER to OR บูรณาการ Nation Triage ร่วมกับ OPD,คลินิกพิเศษ มาตรการ

19 ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.1 Health Outcome 7. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit) (น้อยกว่าร้อยละ 12) โอกาสพัฒนา การพัฒนาการจัดระบบบริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินในรูปคณะกรรมการการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินของทุกโรงพยาบาล มาตรการลดการแออัดที่ER การจัดการสารสนเทศและการจัดการข้อมูลภาพรวมเขต(TEA Unit) การประเมิน ECS โดยคณะกรรมการกลาง บุคลากรเฉพาะทางมีน้อยมาก ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร สนับสนุนงบประมาณและจัดหาสถาบันการอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการบริการให้ได้รับการอบรมครอบคลุมมากขึ้น เสริมสร้างขวัญและกำลังใจ เพิ่มค่าตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อรักษาอัตราการคงอยู่ของบุคลากร ผลักดันให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใส่ใจและจัดการอย่างจริงจังกับนโยบายลดความแออัด ลดความรุนแรง สร้างความปลอดภัย เพิ่มความสุขใน ER

20 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.2 Service Outcome SP2. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m2/yr (มากกว่าร้อยละ 66) สถานการณ์ ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังร้อยละ 17.5 ของประชากร พบเป็นไตวายเรื้อรังประมาณ 2 แสนราย และมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปีๆละ 7800 ราย ค่าบำบัดทดแทนไต ได้แก่ การฟอกเลือด ล้างไตทางหน้าท้อง รวมทั้งการปลูกถ่ายไต ใช้งบประมาณของประเทศปีละมากกว่า 2 หมื่นล้านบาท ดังนั้นการชะลอการเสื่อมของไตเพื่อให้เข้าสู่ระยะทดแทนทางไตช้าลง จึงเป็นนโยบายสำคัญของเขตสุขภาพที่ 10 ผลการดำเนินงาน (เกณฑ์ ร้อยละ 66) นวัตกรรม 1. การทำงานเป็นทีมและการบูรณาการูปแบบการทำงานของ CKD clinic ที่มีส่วนร่วมทั้ง รพสต.สสอ.รพช. ของรพ. ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี ได้รับรางวัลชนะเลิศคลินิกโรคไตเรื้อรังจากสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยปี พ.ศ.2560 2. การทำงานเป็นทีมและการบูรณาการูปแบบการทำงานของ CKD clinic ที่มีส่วนร่วมทั้ง รพสต.สสอ.รพช. ที่มีกลุ่ม อสม.รักษ์ไต ของรพ. มหาชนะชัย จ.ยโสธร ทำให้ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr = (เป้าหมาย: ≥66% เมื่อสิ้นสุดปีงบฯ 2561)

21 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
สรุปประเด็นสำคัญที่เป็นความเสี่ยงต่อการทำให้การขับเคลื่อนนโยบายหรือการดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซึ่งได้จากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการตรวจติดตาม risk factor success factor การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ HDC จัดระบบ ให้มี CKD Clinic ครบทุกรพช. คณะทำงาน วิเคราะห์ข้อมูลระดับเขต มีระบบการจัดการ การนิเทศที่มีประสิทธิภาพทุกระดับ ระบบการเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยบริการในแต่ละโปรแกรม -จัดระบบให้มี case Manager ไตทุกจังหวัด -ความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพ / ชุมชน และความเข้มแข็งของเครือข่ายในชุมชน อสม. อสค. การสื่อสารสาธารณะทุกช่องทางทั้งภายใน/ภายนอกองค์กร การบริการเชิงรุกโดยทีมหมอครอบครัวและทีมสหวิชาชีพ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะที่ให้ต่อหน่วยรับตรวจ สิ่งที่ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดำเนินการต่อ ยังไม่มีทีมทำงานข้อมูลไต ระดับเขต - ระบบข้อมูลไตระดับเขต แนวทางปฏิบัติในการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ส่งตรวจได้ปีละ 2 ครั้ง ผู้ป่วยบางรายไม่มีค่าเปรียบเทียบที่จะนำมาคำนวณการลดลงของ eGFR -มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการดูแลผู้ป่วยโรคไต ไม่มี CKD Clinic ครบทุกรพช. จัดตั้งให้ครบ ไม่มี case manager ไต ให้มีพยาบาล manager ไตจังหวัดละคน ทักษะเจ้าหน้าที่ รพสต. ในการดูแลผู้ป่วย CAPD HD ในชุมชน การอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะของ จนท.ในการดูแลแบบ Palliative care ผู้ป่วยไต ทีม SP ไตเขต จัดประชุมวิชาการ Palliative care ผู้ป่วยไตเรื้อรังอีกจำนวนมากที่ยังไม่เข้าระบบคลินิกชะลอไตเสื่อม เน้นเรื่องการคัดกรองผู้ป่วยไตเรื้อรังมากขึ้นในไตรมาสถัดไป

22 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan). 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) Service Outcome SP3. อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายต่อจำนวนผู้เสียชีวิตในโรงพยาบาล (0.7 :100) - รพ.สรรพสิทธิประสงค์จัดตั้งศูนย์รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะและเป็นพี่เลี้ยงในเขตสุขภาพที่ 10 (A,S,ทั้งหมด +M1รพ.วารินมีการตั้งศูนย์แล้ว) ปี 61 จังหวัดที่ยังไม่ได้รับการบริจาค(ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่ผ่าน) แต่มีผู้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะทั้งสิ้น 38 ราย เจรจา 53 ครั้ง ได้ดูแล 5 ครั้ง สถานการณ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย (ร้อยละ) เขตสุขภาพที่10 1.อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในร.พ. 0.7:100 hospital death 0.56 5/876 ราย (จาก สปส.) 2.อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคดวงตาต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตใน รพ. 1.2:100 hospital death 0.23 2/876 ราย มาตรการ/ผลการ ดำเนินงาน กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยอายุรกรรม ไม่มี Neuro surgeon ทัศนคติความเข้าใจของประชาชนเรื่องการบริจาคอวัยวะยังมีปัญหา ขาดผู้รับผิดชอบโดยตรง/พยาบาล Transplant coordinator (ยกเว้น รพ.สปส.มี TC Nurse) ปัญหาอุปสรรค 1. ค้นหา Donor โดยเริ่มจาก ER , ICU 2. จัดให้มี Full time co-ordinator nurse โอกาสพัฒนา

23 GAP ประเด็นปัญหาที่ยังไม่บรรลุ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.2 Service Outcome SP4. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดรักษาและหยุดเสพต่อเนื่อง (remission) (ร้อยละ 90) GAP ประเด็นปัญหาที่ยังไม่บรรลุ การแพร่ระบาดของยาบ้ายังคงเพิ่มขึ้น สถานพยาบาลผ่านHA ร้อยละ 90% เป้าหมายร้อยละ 70 แพทย์และพยาบาลผ่านการอบรม ร้อยละ 43%และ55%ระบบ อัตราการหยุดเสพ ยังไม่ครบระยะเวลาบำบัดติดตาม การถ่ายโอนภารกิจ จากคุมประพฤติในปีหน้า ระบบฐานข้อมูลยาเสพติดยังไม่สเถียรในบางพื้นที่ แนวทางแก้ไขปัญหา (ระยะสั้น ระยะยาว) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ทบทวนกรอบอัตรากำลัง ความก้าวหน้าของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน จัดทำแผนและเตรียมการสนับสนุน ทุกรพ.ที่ยังไม่ผ่านHA ให้ส่งแบบประเมินตนเอง จัดหลักสูตรอบรมแพทย์และพยาบาลให้ไม่กระทบกับเวลางาน หรือจัดอบรมในพื้นที่ กำหนดการใช้จ่ายงบประมาณให้ชัดเจน นโยบายHarm Reduction ที่ชัดเจน ภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ดำเนินการตามคำสั่งคสช 108/2557 อย่างชัดเจน งบประมาณเพียงพอ มีแนวทาง คัดกรอง รักษา และส่งต่อ ผู้ป่วยชัดเจน ในทุกระดับ

24 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.2 Service Outcome SP5. 1. ร้อยละโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) RDU ขั้นที่ 1 ≥ 80% , RDU ขั้นที่ 2 ≥ 20% สถานการณ์ เขตสุขภาพที่ 10 มีโรงพยาบาล 71 แห่ง RDU ขั้น1 = 69 แห่ง (97.18%) (ไม่ผ่าน คปสอ. สรรพสิทธิ์ฯ และคปสอ. เบญจลักษ์)  RDU ขั้น2 = 3 แห่ง (4.23%) (ผ่าน อำนาจเจริญ (รพ.พนา และ รพ.ปทุมราชวงศา) ,อุบลราชธานี (รพ.โขงเจียม)) จังหวัดอำนาจเจริญ สามารถผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดโดยผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่1 ร้อยละ 100 และ RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 28.57 โอกาสพัฒนา 29 แห่ง จังหวัดมุกดาหาร 7 แห่ง (ทุกโรงพยาบาล) จังหวัดอุบลราชธานี 7 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศรีเชียงใหม่ ,โพธิ์ไทร ,นาจะหลวย ,ม่วงสามสิบ ,สิรินธร ,นาตาล และ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม จังหวัดอำนาจเจริญ 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลอำนาจเจริญ ,ชานุมาน และลืออำนาจ จังหวัดยโสธร 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลค้อวัง และ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดศรีสะเกษ 10 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศรีสะเกษ ,บึงบูรณ์ ,ราศีไศล ,พยุห์ ,ขุขันธ์ ,ยางชุมน้อย ,กันทรารมย์ ,น้ำเกลี้ยง ,โพธิ์ศรีสุวรรณ ,ไพรบึง ,วังหิน และศิลาลาด

25 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.2 Service Outcome SP5. 1. ร้อยละโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) RDU ขั้นที่ 1 ≥ 80% , RDU ขั้นที่ 2 ≥ 20% ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะที่ให้ต่อหน่วยรับตรวจ สิ่งที่ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดำเนินการต่อ 1.ความรู้การใช้ยาปฏิชีวนะในโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบนและโรคท้องร่วงเฉียบพลัน ยังไม่ครอบคลุมผู้สั่งใช้ทุกคนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1. รณรงค์ให้ความรู้แนวทางการใช้ยาแก่บุคลากรทางการแพทย์ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับรวมทั้งสื่อสารประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลแก่ผู้มารับบริการและประชาชน ส่วนกลางควรสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการหรือสื่อไวนิล โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์หรือจัดทำฉลากยา และการประชาสัมพันธ์ในวงกว้าง เช่นสื่อโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ 2.ประชาชนยังมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้ยาสมเหตุสมผลน้อย ทำให้มีการเรียกร้องใช้ยาโดยไม่จำเป็น 3.บุคลากรทางการแพทย์ขาดความมั่นใจในการใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน 2.สนับสนุนข้อมูลงานวิจัยการใช้ยาสมุนไพรในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและในโรคอุจจาระร่วง 4.ยังพบความไม่ถูกต้องของการลงข้อมูลรหัสโรค และรหัสยา ในข้อมูล 43 แฟ้ม 3.พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล ส่วนกลางควรมีระบบจัดเก็บข้อมูลที่เป็นรูปแบบเดียวกันทั้งประเทศ ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย /ต่อส่วนกลาง / ต่อผู้บริหาร / ต่อระเบียบ กฎหมาย มีการนำข้อมูลภาพรวมประเทศมาวิเคราะห์เพื่อหาค่าเกณฑ์มาตรฐานและหาสาเหตุของปัญหา ต้องการให้ส่วนกลางเป็นหน่วยส่งเสริม/สนับสนุนให้มีโปรแกรมที่สามารถนำมาปรับใช้กับโปรแกรมเดิมของแต่ละโรงพยาบาล เพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาตามเกณฑ์ RDU การรายงานข้อมูลประเด็นการใช้ Glibenclamide ใน DM สูงอายุ/ไตระดับ 3 ไม่ควรใช้รายไตรมาสสะสม

26 P L E A S E เป้าหมาย ผลลัพธ์ นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง
: คปสอ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ พัฒนาระบบ และเครื่องมือ เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พัฒนาเครือข่าย เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พัฒนากลวิธีสร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการ นำไปสู่การใช้ยาอย่างสมเหตุผลที่ยั่งยืน เป้าหมาย การสั่งใช้ยาเกินความจำเป็น ขาดระบบเชื่อมโยงงาน RDU บางกลุ่มโรคไม่มีแนวทางการสั่งใช้ยาที่ชัดเจน ความตระหนักรู้การใช้ยามีเพียงในสถานพยาบาล ผลลัพธ์ ประสิทธิผลการดำเนินงานของPTCในการชี้นำและส่งเสริมRDU ระดับ5 การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม ระดับ5 การดำเนินการส่งเสริมจริยธรรม ระดับ4 การใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน เฉลี่ย ร้อยละ 8.92 การใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน เฉลี่ย ร้อยละ 9.29ข้อมูล ณ 20 ก.พ.2561 จำนวนรพ.สต ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดเป้าหมายทั้ง2 โรค(URI&AD) ร้อยละ 100 กระบวนการ P ชี้แจงแนวทางดำเนินงาน ประกาศนโยบาย กำกับติดตาม L จัดทำฉลากยามามาตรฐาน , ฉลากเสริม,เอกสารกำกับยา E พัฒนาเครื่องมือช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล สร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์ ผู้รับบริการ ชุมชน A พัฒนาระบบความปลอดภัยด้านยาเพื่อประชากรกลุ่มพิเศษ S ใช้แนวทางการตรวจสอบภายใน (มาตรการ 9 ข้อบริหารเวชภัณฑ์, เกณฑ์จริยธรรม) และการกำกับติดตามประเมินการสั่งใช้ยา (DUE) E

27 โรงเรียนรู้ค่า ใช้ยาอย่างพอเพียง
School Smart RDU โรงเรียนรู้ค่า ใช้ยาอย่างพอเพียง -ยาอันตราย ใน รร. ร้อยละ 85 -การจัดเก็บยาไม่เหมาะสม ไม่มีการควบคุมคุณภาพ ร้อยละ 95 -ไม่มีการกำหนดรายการยาในห้องปฐมพยาบาลร้อยละ 52.78% ตามรอยปัญหา ที่มาของปัญหา รร.40 แห่ง -มัธยม (2),ประถมศึกษา (34) -ขยายโอกาส (4) คืนข้อมูลให้กับ รร. ขวดโหลท็อฟฟี่ยาอันตรายใน รร. -จัดประชุมชี้แจงครู100% -ทำ MOU กับ รร. -ระดมสมองจัดการปัญหายาใน รร. -ประเมินไขว้ร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ -สรุปผลการประเมินนำเสนอผู้บริหาร ครูหยิบยาอันตรายกินเอง แพ้ยา ผลลัพธ์ รร.ปลอดยาอันตราย 100% กรอบรายการยาใน รร. 18 รายการ ใช้แบบบันทึกจ่ายยาในรูปแบบเดียวกัน 100 % No Patient Allergy เกิดการควบคุมคุณภาพยาใน รร. Anaphylactic Shock Admit

28 ประเด็นที่ 2 การพัฒนาระบบบริการ (Service Excellence)
Sp5: ร้อยละของโรงพยาบาลระดับ A-M1 มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ(AMR) ≥ ร้อยละ70 เป้าหมาย ผลงาน จำนวนรพ. (ร้อยละ) ร้อยละ 70 รพ.ที่มีการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ 2 รพ. (25) ปัญหา/ข้อจำกัด 1. ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลระดับ S และ M1 ยังไม่สามารถดำเนินตามมาตรการ AMR ได้อย่างสมบูรณ์ 2. การปฏิบัติตามมาตรการควบคุมการติดเชื้อไม่เป็นไปตามเกณฑ์ 3. ขาดการวิเคราะห์ปัญหาเชื้อดื้อยา และสถานการณ์ต่างๆ เพื่อนำไปสู่การกำหนดมาตรการของรพ. สถานการณ์ จังหวัด รพศ./รพท. ที่ไม่ผ่านกิจกรรม 1 คกก. 2 LAB 3 ระบบยา 4 IC 5 วิเคราะห์ ศรีสะเกษ / X อำนาจเจริญ อุบลราชธานี สรรพสิทธิ์ฯ 50 พรรษา เดชอุดม วารินชำราบ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างเครือข่าย AMR ระดับเขต 2. พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรด้านโรคติดเชื้อ และการจัดการ AMR ปัจจัยความสำเร็จ 1. ผู้นำทีมที่เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาเชื้อดื้อยาและการประสานงานร่วมกันของทีมเลขานุการ ซึ่งประกอบด้วย เภสัชกร ICN และนักเทคนิคการแพทย์ 2. ระบบข้อมูลสารสนเทศ Lab/ ยา / IC ที่มีประสิทธิภาพ

29 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan). 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) Service Outcome SP6. ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ ลดลง (ร้อยละ 10) - มีการจัดตั้งศูนย์ประสานการส่งต่อระดับจังหวัด มีการกำหนดแนวทางการส่งต่อภายในเขตสุขภาพและการประสานส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ - มีการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพทั้ง 4 สาขา สาขามะเร็งส่งออกเป็นอันดับ 1 สาขาโรคหัวใจ สาขาทารกแรกเกิด สาขาอุบัติเหตุ - สาเหตุของการส่งออกเพื่อF/Uติดตามการรักษา เกินศักยภาพเพื่อการวินิจฉัย/รักษา สถานการณ์ ข้อมูลการส่งออกนอกเขตสุขภาพใน4สาขา ( ต.ค.60-มีค 61) สาขา อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร เขต10 สาขาโรคมะเร็ง 112 73 76 13 58 332 โรคหัวใจ 42 4 21 7 28 102 ทารกแรกเกิด 3 1 - 29 12 45 อุบัติเหตุ 2 9

30 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan). 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) Service Outcome SP6. ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ ลดลง (ร้อยละ 10) - การทำแผนพัฒนาบุคลากร และอัตรากำลังการใช้ทรัพยากรร่วมกันในระดับจังหวัด มีเครือผู้เชี่ยวชาญทุกสาขาเชื่อมกับระบบส่งปรึกษาและส่งต่อ - พัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยระบบส่งต่อ โดย E-Refer พัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยระบบส่งต่อ โดย E-Refer มีเครือผู้เชี่ยวชาญทุกสาขาเชื่อมกับระบบส่งปรึกษาและส่งต่อพัฒนาระบบการส่งกลับผู้ป่วย Intermediate Careโดย Bed Sharingอบรมการใช้งานและเชื่อมระบบ Smart Refer / Bed Sharing ที่ รพ. - มีการจัดทำแผนพัฒนาระบบการส่งต่อ จัดทำCPG ตามสาขา Service Plan ผลการดำเนินงานในกลุ่ม 4 การทำแผนพัฒนาบุคลากรและอัตรากำลังการใช้ทรัพยากรร่วมกันในระดับจังหวัด - มีการจัดทำแผนพัฒนาระบบการส่งต่อ นิเทศงานการส่งต่อในรพ.ทุกแห่ง มาตรการ /ผลการ ดำเนินงาน - ควรมีโปรแกรมการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศจากส่วนกลาง - พัฒนาการจัดเก็บข้อมูล การรายงานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เร่งรัดการลงข้อมูลผ่านระบบIT โอกาสพัฒนา - ระบบฐานข้อมูลยังไม่เชื่อมโยงระหว่างแม่ข่ายและลูกข่าย - การส่งออกนอกเขตสาขามะเร็ง ที่เกินศักยภาพเพื่อการวินิจฉัยและการรักษา ติดตามการรักษาสาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด - ข้อมูลการส่งออกทั้งในเขตและนอกเขตระบบRefer Link ไม่ตรงกัน ระบบRefer Link ไม่ค่อยเสถียร ทำให้มีปัญหาในการลงข้อมูลและประมวลผล/วิเคราะห์ผลข้อมูลการส่งออกนอกเขต ปัญหาอุปสรรค

31 คณะที่ 2 ประเด็น KPI ที่ Monitor ระบบข้อมูล
5 ตัวชี้วัด

32 ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) Health Outcome : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (< 6.3 ต่อแสนประชากร) เขต 10 รอบ 1 ปี 61: ผลงาน 1.53 แนวทางพัฒนา ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร บูรณาการกับภาคประชาชน เพื่อสร้างความรู้ ความตระหนักถึงสัญญาณเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรเรื่องความรู้และทักษะการให้คำปรึกษาเบื้องต้นเพื่อให้บริการผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช 3. ส่งเสริมความรู้ในสื่อสุขภาพจิตสำหรับประชาชนทุกกลุ่มวัยเรื่องทักษะการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตและการจัดการความเครียดที่เหมาะสม ให้โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์สนับสนุนจิตแพทย์ทั่วไป ออกตรวจโรคที่คลินิกจิตเวช ณ โรงพยาบาลจังหวัดยโสธรบ่อยขึ้น เนื่องจากมีอัตราการฆ่าตัวตายสูง และยังไม่มีจิตแพทย์ กำหนดแนวทางการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชก้าวร้าว ยุ่งยากซับซ้อน เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองไปยังโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ ให้สะดวก รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการของเครือข่าย

33 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan)
3.2 Service Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (≥ ร้อยละ 55) แนวทางพัฒนา ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร กำหนดกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้มีภาวะซึมเศร้าบูรณาการกับระบบสุขภาพอำเภอ เพื่อประเมิน 7 กลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุมทุก Visit มีการทบทวนเวชระเบียนผู้ที่มีความเสี่ยงซึมเศร้า และนิเทศติดตามการลงบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม อย่างสม่ำเสมอ 3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ภาระงานของผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตในระดับรพศ.,รพท.,รพช.มีมาก ทำให้ไม่สามารถเป็นพี่เลี้ยงให้กับรพ.สต.ได้ครอบคลุม แพทย์บางพื้นที่ ยังขาดความมั่นใจในการตรวจ วินิจฉัย และรักษาผู้ป่วยซึมเศร้า ให้คณะกรรมการ IT รับผิดชอบระบบการรายงานและประมวลผลงานเข้าสู่ศูนย์ข้อมูลจังหวัดและศูนย์สารสนเทศโรคซึมเศร้า

34 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.1 Health Outcome 3. อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired (ร้อยละ30) - การประเมิน/ การคัดกรอง/ การวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วย ยังไม่ครอบคลุม เกณฑ์การใช้ SOFA ,SIRS บุคลากรไม่มั่นใจในการใช้ บุคลากรที่เกี่ยวข้องบางรายขาดสมรรถนะในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต - ยาNorepinephrine มีไม่ครบทุกรพช. ยังไม่มีการใช้ยา Levophed ใน รพช. - การ Delay diagnosis และการได้รับยา Antibiotic ล่าช้า ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และเกิด Prolong Shock ตามมา การได้รับสารน้ำที่เพียงพอค่อนข้างน้อย - ระบบสารสนเทศตอบสนองได้ไม่ครอบคลุมกับความต้องการการเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัด สถานการณ์ อัตราการเสียชีวิตจากการติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงในกลุ่มผู้ป่วย Community - aqcuired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 30 ตัวชี้วัด รายการข้อมูล ภาพรวมประเทศ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร ภาพรวมเขต อัตราตายจากsepsis septic shock (<30%) เป้าหมาย 32,061 808 1,229 287 285 259 2,868 ผลงาน 15,789 406 641 158 90 98 1,393 อัตรา/ร้อยละ 49.25 50.24 52.15 55.05 31.57 37.83 48.53 ข้อมูล ณ ต.ค.60 – มี.ค.61

35 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3.1 Health Outcome 3. อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired (ร้อยละ30) -มีคณะกรรมการและแผนพัฒนาระบบการดูแลรักษาในรพศ. และรพ.แม่ข่าย มีNCMในการประสานงานและติดตามตัวชี้วัดในทุกรพ. ใช้SOS scoreในการ early detection ในการsepsis fast track เข้าICU -มีprotocal/CPG การดูแลรักษา มีLine consultแพทย์ใน line refer med และlineผู้ประสานงานnurse sepsis นิเทศติดตามเยี่ยมแม่โซน พัฒนาระบบการรายงานติดตามตัวชี้วัด สนับสนุนเรื่องขวด H/C ในรพช. -มีการกำหนดCriteria ในการดุแลผู้ป่วยระดับรพช. และcriteriaในการส่งต่อผู้ป่วย มาตรการ/ ผลการ ดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการคัดกรอง/การดุแลผู้ป่วยsepsis/septic shcock พัฒนาข้อมูลให้มีประสิทธิภาพร่วมกันทั้งเครือข่ายเพื่อนำไปวางแผนการดำเนินงานต่อไป ควรมีการพัฒนาศักยภาพ รพ.แม่ข่ายที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ทั้งการจัดสรรงบประมาณ ผู้เชี่ยวชาญ(คน เงิน ของ )ในทุกๆด้านเพื่อรองรับผู้ป่วยในระดับพื้นที่ เพื่อลดการส่งต่อและความแออัดในรพศ. -มีแพทย์เฉพาะทางในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต โอกาสพัฒนา -ยาเพิ่มความดันโลหิต Norepinephrine มีไม่ครบทุกรพช. -การประเมิน/ การคัดกรอง/ การวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วย sepsis , severe sepsis , septic shock ยังไม่ครอบคลุม รพช. ยังไม่บันทึกข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย sepsisการบันทึกข้อมูลการปฎิบัติตามsepsis bundle ไม่ครบถ้วน -ขาดแคลนบุคลากรดูแลผู้ป่วยวิกฤตแพทย์ พยาบาล บุคลากรบางรายยังขาดสมรรถนะในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ผู้ป่วยที่มีอาการวิกฤต ไมสามารถรับเข้าการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตได้ทุกราย เนื่องจากมีจำนวนเตียงจำกัด ปัญหาอุปสรรค

36 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) Service Outcome : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้ (DM =>40%, HT=>50%) สถานการณ์ กิจกรรมการดำเนินงาน 1. พยาบาลรายกรณี (Case manager,Mini-case manager 2. การพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ 3. พัฒนาระบบข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. ประเมินผลการการดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ผลการดำเนินงานเขตสุขภาพที่ 10 โอกาสพัฒนา ที่ จังหวัด HT control DM control 1 ศรีสะเกษ 42.32 31.12 2 อุบลราชธานี 42.44 21.56 3 ยโสธร 40.98 11.47 4 อำนาจเจริญ 37.28 17.27 5 มุกดาหาร 35.77 16.56 ภาพรวมเขต 41.35 21.72 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการการตรวจ Hba1c 2. เข้าถึงการวัดความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 3. ให้มีการกระจายยารักษาเบาหวานpioglitazone insulin ยาลดความดันที่หลากหลายเช่น hydralazine losartan doxazocin สู่ รพ.สต

37 ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan). 3
ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) Service Outcome SP7. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) กลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยโรคเรื้อรังและโรคมะเร็งที่เข้าสู่ระบบการดูแลแบบ Palliative Care เพิ่มขึ้น -ผู้ป่วยมีการเข้าถึงระบบบริการการดูแลแบบประคับประคองและผู้ป่วยระยะ End of life มีคลินิกดูแลแบบประคับประคอง ครบทุกแห่ง มีแพทย์รับปรึกษา โดยการจัดตั้ง Line group สถานการณ์ 1. พัฒนาระบบการเชื่อมโยงรอยต่อในการเข้าถึงระบบบริการของผู้ป่วย Palliative Care 2. พัฒนาศักยภาพ Palliative ward nurse และเครือข่ายในชุมชน 3. สนับสนุนและกำหนดแนวทางการใช้ยา Strong opioid ในผู้ป่วย PC 4. พัฒนาระบบการบันทึกและส่งต่อข้อมูล จัดทำทะเบียนผู้ป่วยระยะสุดท้าย การดำเนินงาน ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เขตสุขภาพที่ 10 1. โรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 100% 2. ร้อยละของโรงพยาบาลระดับ F2 ดำเนินการได้ตามมาตรการดูแลแบบประคับประคอง 3. ร้อยละโรงพยาบาลระดับ S ดำเนินการได้ตามมาตรการดูแลแบบประคับประคอง ผลการดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลเครือข่ายในเขตสุขภาพที่ 10 Palliative care team เครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ Strong Opioid medication Home referral system ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยประคับประคองที่บ้าน โอกาสพัฒนา 1. นโยบายนำไปสู่การปฏิบัติยังไม่ชัดเจน 2. ผู้รับผิดชอบงานรับผิดชอบงานหลายด้าน อาจทำให้การดำเนินงานด้าน Palliative ไม่ครอบคลุม 3. ผู้รับผิดชอบงานรับผิดชอบขาดความก้าวหน้าในวิชาชีพ career path ที่มั่นคงและก้าวหน้า ข้อเสนอแนะ

38


ดาวน์โหลด ppt เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google