งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก

2 Service Plan สาขาที่เน้นการเข้าถึงบริการ

3 Service Plan ไต Outcome : ลดผู้ป่วยโรคไตรายใหม่
เพิ่มคุณภาพการเข้าถึงบริการ เพิ่มจำนวน doner Service Outcome CKD stage 3-5 ลดลง10 % 1. คัดกรองโรคไตเรื้อรังใน DM & HT >90% 2. ผู้ป่วย DM/HTได้รับการประเมิน eGFR >=60% 3. ผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr> 50% 4. ผู้ป่วยได้รับการ emergency vascular access ก่อนเริ่มทำ RRT < 20% Situation ; 1. ผู้ป่วยมีภาวะไตวายเรื้อรัง 6,439 ราย 2. ผู้ป่วยโรคไตที่มีแนวโน้มต้องล้างไต 739 ราย 3. ผู้ป่วยรายใหม่ล้างไต ปีละ 80 ราย ล้างไตทางช่องท้อง % 4. ผู้ป่วย DM/HTคัดกรองโรคไตเรื้อรัง 56.48 5. ผู้ป่วยDM/HTได้รับการประเมิน eGFR 30.19 1. มี CKD clinic คุณภาพ ทุก รพ. 2. การเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วย DM/HT (ไต) และประเมิน eGFR 4. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน CKD stage 3 4. สนับสนุนให้มีบุคลากรที่จำเป็นครบทุกสาขาตาม บริบทของ รพ.แต่ละระดับ 1.คัดกรองโรคไตเรื้อรังใน DM /HT 2.รณรงค์ ลดอาหารเค็ม /เลิกบุหรี่ 3.ขยายบริการ HD/CAPD Designed Services

4 Service Plan สุขภาพช่องปาก
เป้าหมาย ฟันน้ำนมและฟันแท้ผุ ไม่เกินร้อยละ50 ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงการบริการทันตกรรม ร้อยละ 50 ปฐมวัย ประถม วัยทำงาน ผู้สูงอายุ-ผู้พิการ ฟันน้ำนมผุในเด็ก3ปี ร้อยละ 59.9 (เขต2 ร้อยละ51.6) ฟันแท้ผุในเด็ก12ปี ร้อยละ 43.7 (เขต2 ร้อยละ 49.9) ฟันผุ อุด ถอน เฉลี่ย 0.57 ความแออัดในการเข้ารับบริการ ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานในช่องปากไม่น้อยกว่า20ซี่ ร้อยละ 48.7 (เขต2 ร้อยละ 41.6) ผู้สูงอายุมีฟันหลัง4คู่สบ (รวมฟันปลอม) ร้อยละ 67.2 (เขต2 ร้อยละ 57.8) ได้รับบริการทันตกรรมเพื่อเก็บรักษาฟันแท้ ร้อยละ 26.7 เข้าถึงการบริการทันตกรรม ร้อยละ 21.2 (คน) (เขต2 ร้อยละ 22.51) จ.ตากมีรพ.สต.ที่มีทันตาภิบาลประจำ ร้อยละ 33 จัดบริการสุขภาพช่องปากอย่างมีคุณภาพผ่านเกณฑ์ได้ ร้อยละ 57.5 (เขต 2 ร้อยละ 58.5) ประชากร 618,382 ทพ 52 ทภ 55 สัดส่วน ทพ 1:11,892 สัดส่วน ทภ1:11,243 แหล่งข้อมูล:รายงานผลการดำเนินงานOHSPเขตบริการสุขภาพที่2 ปี2558 รายงานสรุปผลงานทันตสาธารณสุขปี2558 ศูนย์อนามัยที่2พิษณุโลก ข้อมูลประชากรทะเบียนราษฎร์ ปี58 กรมการปกครอง

5 2.พัฒนาศักยภาพการรักษา ฟื้นฟูสุขภาพช่องปาก ใน รพ. เพื่อลดการสูญเสียฟัน
เป้าหมาย ฟันน้ำนมและฟันแท้ผุ ไม่เกินร้อยละ50 ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงการบริการทันตกรรม ร้อยละ 50 บริการทันตกรรม ปฐมวัย วัยรุ่น-วัยทำงาน ผู้สูงอายุ-ผู้พิการ ประถมศึกษา ตรวจสุขภาพช่องปาก/รักษาโรคช่องปากหญิงมีครรภ์ ตรวจสุขภาพช่องปาก ทาF ในWCCและศดล. ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากให้ ผป. ตรวจสุขภาพช่องปาก เคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ อุดฟัน ขูดหินปูน ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปาก ลดความแออัด/ขยายพท.ห้อง/เพิ่มยูนิตทำฟัน ฟันสะอาดเหงือกแข็งแรงในเด็กม.1 ตรวจช่องปาก ส่งเสริมป้องกันในผู้ป่วย DM ป้องกันสูญเสียฟันจากโรคเหงือก ตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ฟันเทียมพระราชทาน รากฟันเทียมพระราชทาน ผู้สูงอายุฟันดี บูรณาการ LongTermCare เครือข่ายเด็กไทยฟันดี รร.ฟันแท้ดีครบจนจบ ป.6 บูรณาการ ตำบลนมแม่ บูรณาการ ศพด.น่าอยู่ 1.กระจายและเพิ่มการเข้าถึงการบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันใน รพสต/ศสม. เพื่อ ลดการเกิดโรค 2.พัฒนาศักยภาพการรักษา ฟื้นฟูสุขภาพช่องปาก ใน รพ. เพื่อลดการสูญเสียฟัน

6 ผลงานการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ปี 2558
จังหวัด ปชก.ทุกสิทธิ์ ปชชได้รับบริการ ทันตกรรม(คน) ร้อยละ(คน) ทันตกรรม(ครั้ง) ร้อยละ(ครั้ง) จำนวนทันตบุคลากร (คน) สัดส่วนทันตบุคลากรต่อกาให้บริการ คน:ครั้ง ทพ.ทั่วไป ทพ.เฉพาะทาง ทภ. รวม พิษณุโลก 863,249 100,786 11.68 151,256 17.52 25 43 82 150 1: 672 : 1008 เพชรบูรณ์ 1,002,392 127,040 12.67 188,930 18.85 60 13 109 182 1: 698 : 1038 สุโขทัย 607,522 99,552 16.39 165,385 27.22 45 12 100 1: 996 : 1654 อุตรดิตถ์ 464,697 91,506 19.69 154,696 33.29 39 19 58 116 1: 789 : 1334 ตาก 536,614 94,054 17.53 150,074 27.97 32 54 105 1: 896 : 1430 3,474,474 513,098 14.77 810,331 23.32 201 106 346 653 1: 786 : 1241 แหล่งข้อมูล : ผลงานการบริการทันตกรรมผู้ป่วยนอกทุกสิทธิ์ HDC ณ 9พค 59 ประขากรทะเบียนราษฎร์ เขตบริการสุขภาพที่2 1 มค 58 HDC ณ 9พค 59

7 แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2560-2565
เอกสารแนบ แผน รพ.สต.แม่ข่ายทันตกรรม (รพ.สต.ที่จะติดตั้งยูนิตทันตกรรม และมีทันตาภิบาลประจำ รวมถึงครุภัณฑ์ทันตกรรม กระจายครอบคลุมตำบล ,กระจายครอบคลุมประชากร ,กระจายในพื้นที่กันดาร รพ. ระดับ F M S แผนเพิ่มยูนิตทันตกรรม ครุภัณฑ์เฉพาะทาง แผนความต้องการ ทพ. GPและ ทพ.เฉพาะทาง

8 การบริหารระบบ (6 BB) SP สุขภาพจิต จิตเวช และยาเสพติด จังหวัดตาก
สถานการณ์:อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ11.69ต่อแสนปชก. - อัตราการเข้าถีงโรคจิตเวชเด็กต่ำ Autistic 9.87% /ADHD 5.92 % - อัตราการรอตรวจ OPD 130 นาที/ราย และรอตรวจ IQ 1-3 เดือน - Refer Out ราย/ปี -คัดกรองพัฒนาการเด็กพบเสี่ย≤20% - วัยรุ่นท้อง43ต่อ10,000 ปชก. ท้องซ้ำ 18.13% - บริการเตียงผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติดภาวะเร่งด่วน (Acute care) รพ.ระดับ S บริการประเมินและแก้ไขเด็กพัฒนาการล่าช้า รพช. F2 ขึ้นไป บริการบำบัดรักษาผู้ป่วยนอกจิตเวชเด็ก รพช.F2ขึ้นไป ดำเนินการศูนย์เพื่อการคัดกรองผู้ติด ยาเสพติด 100% คลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ70% คลินิกผู้ป่วยนอกจิตเวช รพ.F2 ขึ้นไป คุณภาพ 60 % Extended OPD ใน รพช. โดยทีมจิตแพทย์50% การเข้าถึงยาจิตเวชจำเป็นใน รพช.ทุกแห่ง มากกว่า 80% ระบบสารสนเทศ Information system & sharing เทคโนโลยี Service Indicator Outcome Indicator ผู้ป่วยโรคจิตเวชที่สำคัญเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น (โรคจิต> 55 %, โรคซึมเศร้า > 43 %) Autistic, ADHD > 15% ผู้ป่วยจิตเภทได้รับการดูแลต่อเนื่อง > 70% อัตราผู้ป่วย SZP, MDD รักษาใน รพช. > 70% การรอคอยวัด IQ ระดับจังหวัดน้อยกว่า 3 เดือน ≥60% ร้อยละของผู้ป่วยยา เสพติดที่หยุดเสพ ต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจาก การบำบัดรักษา 92% อัตราป่วยซ้ำรุนแรงของโรคจิตเภท < 5% อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง > 5% อัตราการ Refer ออกนอกเขตลดลง >10% ยาจิตเวชและยาบำบัดสารเสพติดที่จำเป็น รพ.F3ขึ้นไป อุปกรณ์ผูกมัดผู้ป่วยรพ.ทุกระดับ ชุดตรวจปัสสาวะหาสารเสพติด ระดับรพ. F3 ขึ้นไป TEDA4I รพ. F3ขึ้นไป เครื่องมือวัดเชาว์ปัญญาใน รพช./รพท. ที่มีนักจิตวิทยา เครื่อง ECT ใน รพท./รพศ. การเงิน Financing งบประมาณพัฒนาหน่วยบริการ ค่าปรับปรุงสถานที่สำหรับการดูแล ผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดระยะสั้น DHS กำลังคนด้านสุขภาพ Health workforce ธรรมาภิบาล Leadership & Governance มีการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในระบบ DHS อย่างน้อย 1 ตำบล/อำเภอ ร้อยละ 80 จิตแพทย์/จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น/PG เด็กและวัยรุ่น/PGยาเสพติด

9 Outcome :Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน ≥ 80%
SP Eye Outcome :Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน ≥ 80% Situation : Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน = 90% (เฉลี่ย17 วัน) Service Outcome : ผู้สูงอายุได้รับการคักกรองต้อกระจก ≥ 75% Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน ≥ 80% Low Visionได้รับการผ่าตัดภายใน90 วัน ≥ 80% Situation: ผู้สูงอายุได้รับการคักกรองต้อกระจก 62% Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน = 90%(เฉลี่ย 17 วัน) Low Visionได้รับการผ่าตัดภายใน90 วัน = 92% (เฉลี่ย 59 วัน) Designed Services - คัดกรองการวัดสายตาโดย อสม / รพ.สต / รพช / ทีมจักษุแพทย์ - ผ่าตัดโดยรพทและมูลนิธิ ตามความเร่งด่วน

10 Outcome : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ≥80%
SP Eye Outcome : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ≥80% Situation: ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตา 72% Service Outcome : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตา ≥ 80% High risk DR ที่ Rxด้วยLaser ≤ 30 วัน 100% High risk DR ทีรักษาไม่ได้ ได้รับการส่งต่อ 100% Situation:ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตา 72.74% High risk DR ที่ Rxด้วยLaser ≤ 30 วัน 100% High risk DR ทีรักษาไม่ได้ ได้รับการส่งต่อ100%( คิดเป็น 17%ของ High risk DR) Designed Services - คัดกรองโดยการใช้Fundus camera / รพช /พยาบาลเวชปฏิบัติทางตา/ ทีมจักษุแพทย์ - รักษาโดยการLaser PRP และส่งต่อในรายที่ต้องพบจักษุแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจอประสาทตา

11 Outcome : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองต้อหิน ≥ 30%
SP Eye Outcome : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองต้อหิน ≥ 30% Situation: : ผู้สูงอายุได้รับการคักกรองต้อหิน23% Service Outcome : : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองต้อหิน ≥ 30% : ต้อหินรายใหม่ได้รับการรักษาโดยจักษุแพทย์ 100% Situation: : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองต้อหิน23% ต้อหินรายใหม่ได้รับการรักษาโดยจักษุแพทย์ 100% (คิดเป็น0.88 %ของผู้ที่ได้รับการคัดกรอง) Designed Services - วัดความดันลูกตาโดยใช้เครื่องวัดความดันลูกตาชนิดไม่สัมผัส/ รพช /พยาบาลเวชปฏิบัติทางตา - รักษาโดยการใช้ Lasers

12 Service Plan สาขาที่เน้น
ลดป่วย ลดตาย

13 Service Plan สาขาที่เน้นการบริการ ลดป่วย ลดตาย
สาขามะเร็ง สาเหตุการตายด้วยโรคมะเร็งของจังหวัดตาก ปี 2558 คือ มะเร็งหลอดลมและปอด ร้อยละ , มะเร็งตับ ร้อยละ 8.83 , มะเร็งหลอดอาหาร ร้อยละ 1.88 , มะเร็งต่อมน้ำเหลือง และมะเร็งระบบย่อยอาหารอื่นๆ ร้อยละ 1.69 สาขาทารกแรกเกิด พบทารกคลอดก่อนกำหนด(Preterm 8.9 / LBW 8.1 )และ ภาวะ Birth asphyxsia 42 จึงจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวัง ติดตาม ทบทวน และพัฒนางานอย่างต่อเนื่องตั้งแต่งานฝากครรภ์จนถึงการดูแลทารกแรกเกิดอย่างมีคุณภาพ และระบบส่งต่อที่มีมาตรฐาน สาขาหัวใจ จากข้อมูลผู้ป่วยSTEMI ภาพรวมจังหวัด ปี พบว่ามีผู้ป่วยจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปี พบ 126 ,148 และ132 ราย อัตราผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด ร้อยละ 71.4, 71.7, และ 88.4 ตามลำดับ อัตราการเสียชีวิต ปี 2556 – 2558 พบ ร้อยละ 13.2 ,19.6 และ15.1 ตามลำดับ

14 Service Plan สาขาที่เน้นการบริการ ลดป่วย ลดตาย
สาขาอุบัติเหตุ ปัจจุบันแนวโน้มการเกิดอัตราตายจากอุบัติเหตุของจังหวัดตากเพิ่มมากขึ้นผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน มีพื้นที่เกิด/เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ สาขาโรคไม่ติดต่อ ปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนมากขึ้น ทั้งยังพบว่าจำนวนผู้ป่วยและอัตราการเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีจำนวน ความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วย DM/HT การเกิดภาวะแทรกซ้อนนั้น เนื่องจากไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และความดันโลหิตได้ และพบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง มากกว่า 850 รายต่อปี เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน ischemic stroke ประมาณร้อยละ 60 และ hemorrhagic stroke ประมาณร้อยละ 40

15 Health Need สาขา Health Need มะเร็ง
ลดอัตราตาย, ลดอัตราป่วย, ลดระยะเวลารอคอย, สถานบริการสุขภาพได้มาตรฐาน ทารกแรกเกิด อัตราการตายของทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่า 28 วัน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5:1000 การเกิดมีชีพ( Neonatal Mortality Rate < 5:1000 LB) โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง 1. ลดอัตราตายผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด STEMI, ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่ 2. ลดระยะเวลารอคอยในการสวนหลอดเลือดและการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ 3. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพิ่มคุณภาพการเข้าถึงบริการ, การเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือด stroke fast track อุบัติเหตุ อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ต้องลดลง ไม่เกิด 10 ต่อแสนประชากร ในปี 2563 โรคไม่ติดต่อ 1. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ 2. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. ลดอัตราการตาย

16 อุบัติการณ์ของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับ จ.ตาก
ที่มา: HDC จังหวัดตาก อัตราผู้ป่วยตายด้วยโรคมะเร็ง จ.ตาก ที่มา : จากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ที่เชื่อมระบบจาก สนย.กระทรวงสาธารณสุข

17 Medical equipment & Building
TSM 6 mo SP Newborn Outcome : NMR ≤ 5 : 1000 LB Situation ; NMR 2.2 /1000 LB (ท) Service Outcome : Preterm birth / LBW < 7% Birth asphyxia ≤ 25 /1000 LB Refer out  % Cong anomalies / CCHD unplanned  Situation ; Preterm birth / LBW / 8.1 Birth asphyxia Refer out NB  % Refer out มารดา-NICUเต็ม 57-2, 58-8, 59-2 Cong anomalies / 57-0, 58-4, 59-1 CCHD(unplanned) Designed Services - ANC คุณภาพ NICU คุณภาพ/มาตรฐาน และเพียงพอต่อการบริการภายในจังหวัด – รพ แม่สอด (S), M2 2 เตียง SNB รพ ตสม(S) Governance HRH H info Med Tech Finance Medical equipment & Building

18 [6m] 1 1 2

19 NMR NMR(ท) LBW Preterm BA 1.4 9.3 27.6
2559 NMR NMR(ท) LBW Preterm BA 5 m ≤5/1000LB <7% <25/1000LB TSM 2/786=2.5 2/758=2.6 58/758=7.6 68/758=9.0 31/758=40.9 MS 2/1333=1.5 86/755=11.4 33/709=4.6 19/755=25 Tak 1.4 9.3 27.6

20 SP STEMI Governance HRH H info Med Tech Finance
Outcome : ลดอัตราตายโรคหัวใจขาดเลือด ลดระยะเวลารอคอย เพิ่มคุณภาพการเข้าถึงบริการ Service Outcome ลดอัตราตายโรคหัวใจขาดเลือด<10% 1. มีการจัดตั้ง Warfarin clinic รพ.ระดับ M2 ขึ้นไป 2. มีการจัดตั้ง Heart failure clinicรพ.ระดับM2 ขึ้นไป 3. รพช. F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ Situation ; ปี 1.ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI จำนวน 126,148 และ132 ราย 2.อัตราผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด ร้อยละ71.4, 77.7, 84.4 สูงสุดในประเทศ 3.อัตราการเสียชีวิต ร้อยละ 13.2, 19.6, และ 15.1 1.จัดระบบเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วย DM/HTในการประเมิน CVD risk 2. คลินิก NCD คุณภาพ 3. ให้ประชาชนตะหนักและเข้ามารับบริการเร็วขึ้น 4..พัฒนาคุณภาพบริการการระดับ F2 ขึ้นไปให้ยา ละลายลิ่มเลือดได้ 5. พัฒนาระบบการส่งต่อ 1. การให้ SK มีความพร้อมให้ได้ทั้ง 9 แห่ง ภาพรวมการให้ SK ทั้งจังหวัด ร้อยละ (37/49) 2. มีระบบการส่งต่อ STEMI fast track 3. มีระบบนัด Echocardiogram Designed Services Governance HRH H info Med Tech Finance Medical equipment & Building

21 Medical equipment & Building
SP โรคหลอดเลือดสมอง Outcome : การเข้าถึง stroke fast track ผู้ป่วยรายใหม่ลดลง ลดความพิการ ผู้ป่วยได้รับยาทันเวลาที่กำหนด เพิ่มขึ้น > ร้อยละ 20 1. อัตราป่วยรายใหม่หลอดเลือดสมอง ลดลง (5/10%) 2. ผู้ป่วย DM/HT controlได้ 40/50% 3. ผู้ป่วย DM/HTคัดกรองภาวะแทรกซ้อน >=60% 4. ผู้ป่วย DM/HTได้รับการประเมิน CVD risk >=60% 5. High Risk ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/รับยา>=50% 6. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองลดลงร้อยละ10 ในปี 2562 Service Outcome Situation ; 1 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง มากกว่า 850 รายต่อปี 2. ischemic stroke ร้อยละ 60 3 hemorrhagic stroke ร้อยละ 40 4 hemorrhagic stroke มีโรค DM/HT/ hyperlipidemia ร่วมด้วย ร้อยละ 1. การเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วย DM/HT/hyperlipidemia และประเมิน CVD risk 2. ติดตามการใช้ยาและผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน กลุ่ม High Risk 3. คลินิกอดบุหรี่ 4. stroke corner ใน รพช. ทุกแห่ง 1. ผู้ป่วย DM = 42% /HT = 51% / control ได้ (ที่มาข้อมูล TAKIS) 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงโดยเทคนิค MI Designed Services Governance HRH H info Med Tech Finance Medical equipment & Building

22 Medical equipment & Building
SP NCD(DM/HT) Outcome : ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ลดการตาย Service Outcome อัตราป่วยรายใหม่ DM/HT ลดลง (5-10%) 1. DM/Ht controlได้ 40/50% 2. ผู้ป่วย DM/HTคัดกรองภาวะแทรกซ้อน >=60% 3. ผู้ป่วยDM/HTได้รับการประเมิน CVD risk >=60% 4. High CVD Risk ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/รับยา>=50% 5. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลงร้อยละ10 ในปี 2562 Situation ; 1. อัตราป่วยรายใหม่ DM ปี57=0.39/ปี58=0.07 2. อัตราป่วยรายใหม่ HT ปี57=1.21/ปี58=0.16 3. DM/HT control ได้ 41.27/22.79 4. ผู้ป่วย DM/HTคัดกรองภาวะแทรกซ้อน 54.86 5. ผู้ป่วยDM/HTได้รับการประเมิน CVD risk 50.19 1. คลินิก NCD คุณภาพผ่านเกณฑ์ทุก รพ. 2. คลินิก NCD คุณภาพ รพ.สตละ 2 แห่ง/CUPผ่านเกณฑ์ 3. การเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วย DM/HT (ตา ไต เท้า) และประเมิน CVD risk 4. ติดตามการใช้ยาและผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน กลุ่ม High CVD Risk และ CKD stage 3 1.คัดกรอง DM /HT 15 ปีขึ้นไป = 69% (2 ไตรมาส) 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงโดยเทคนิค MI Designed Services Governance HRH H info Med Tech Finance Medical equipment & Building

23 SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Outcome : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 10 ต่อแสนประชากรในปี 2563 Service Outcome 1.ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 10 ต่อแสนประชากร 2.อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่ Admit จากการบาดเจ็บ (19 สาเหตุ)ที่มีค่า PS ≥ 7.5 น้อยกว่าร้อยละ 1 3.อัตราส่วยผู้ป่วยสีแดงและ Fast Track ที่มาด้วยระบบ EMS 4.อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้รักษาในรพ.ภายใน 24 ชม. เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 5 5.ER คุณภาพ เกณฑ์ ระดับ S ปี 2559 , ระดับ M ปี 2560 Situation : ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ( 6 เดือนต้นปีงบ 59) Situation 1. ผู้ป่วยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน 2. อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่ Admit จากการบาดเจ็บ (19 สาเหตุ) ที่มีค่า PS ≥ 3. อัตราส่วยผู้ป่วยสีแดงและ Fast Track ที่มาด้วยระบบ EMS Stroke , STEMI 7.69, Severe Sepsis 8.36 , Trauma 15.22 4. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้รักษาในรพ.ภายใน 24 ชม. 0.97 5.มีพื้นที่เกิด/เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติระดับหน่วยบริการ Designed Services 1.Trauma : Information , ER คุณภาพ , ระบบ Fast Track 2.Non Trauma : Fast Track (Stroke MI , Severe Sepsis) 3. Disaster Management : มีการประเมินความเสี่ยงระดับพื้นที่และมีแผนรองรับภัยพิบัติ มีการจัดตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด วิต HRH H Info Finance Med Tech Governance

24 Service Gap สาขา มะเร็ง
1. Primary Prevention, Screening and Early Detectionไม่ครอบคลุม 2. Palliative Careไม่ครอบคลุม , ขาดการจัดการอาการรบกวน 3. สารสนเทศโรคมะเร็ง (Cancer Informatics)ยังไม่ชัดเจน 4. สถานการณ์มะเร็งปอด มะเร็งตับเป็นสาเหตุการตาย อันดับ 1และ ใน จ.ตาก ทารกแรกเกิด 1. จำนวนเตียง เตียง NICU ไม่เพียงพอ 2. Sick newborn ไม่เพียงพอ 3. อุปกรณ์การแพทย์ไม่เพียงพอ Transport vent / incubator Neopuff resuscitator 4. บุคลากรทางการแพทย์ทางการพยาบาลไม่เพียงพอ หัวใจและหลอดเลือดสมอง 1. ขาดการพัฒนาระบบเครือข่ายดูแลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน และการดูแลต่อเนื่องเมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน 2. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่จำหน่ายออกจาก รพ. ส่วนใหญ่ขาดการฟื้นฟูต่อเนื่อง ขาดบุคลากร ขาดความต่อเนื่อง รพช. ไม่มี stroke clinic อุบัติเหตุ 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ออกปฏิบัติการทั้งที่ผ่านการอบรมและขึ้นทะเบียนแล้ว 2. ไม่มีอุปกรณ์ MERT โรคไม่ติดต่อ 1. การให้บริการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนยังไม่คลอบคุลม 2. การบันทึกผลการให้บริการใน 43 แฟ้ม ไม่ถูกต้อง ครบถ้วน

25 Service Plan สาขาที่เน้น
การพัฒนาระบบบริการ

26 Service Plan สาขา ปฐมภูมิ และสุขภาพองค์รวม

27 สถานการณ์ ระบบสุขภาพอำเภอ
คุณภาพบริการเชิงรุก กลุ่มภาวะพึ่งพิง

28 PP : OP visit,Unit cost เมืองตาก บ้านตาก สามเงา วังเจ้า แม่สอด
อำเภอ รพ.สต. (115) PP visit OP visit (70:30) Unit cost รพ. OP IP เมืองตาก 21 73.8 :26.2 46.0 : 54.0 808 15,421 บ้านตาก 15 76.5 : 23.5 46.1 : 53.9 752 34,865 สามเงา 14 67.0 : 33.0 51.9 : 48.1 672 19,271 วังเจ้า 5 89.5 : 10.5 51.6 : 48.4 แม่สอด 19 70.0 : 30.0 44.6 : 55.4 816 12,976 แม่ระมาด 9 70.6 : 29.4 47.7 : 52.3 732 14,595 ท่าสองยาง 12 83.4 :16.6 61.8 : 38.2 581 22,220 พบพระ 11 81.8 : 18.2 59.6 : 40.4 695 22,409 อุ้มผาง 70.9 : 29.1 60.0 : 40.0 865 25,361 แหล่งข้อมูล แฟ้ม สสจ.ตาก 17 พย. 58 Unit cost มีค 59

29 สาขา Health Need ปฐมภูมิฯ - เพิ่มสัดส่วนการใช้บริการประชาชนในสถานบริการระดับปฐมภูมิ ให้อยู่ในสัดส่วน 70 : 30 - ประชาชน/ชุมชน พึ่งพาตนเองได้ (Self care) ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ

30 สถานการณ์ / Health need
สาขา สถานการณ์ / Health need 5 สาขาหลัก สถานการณ์ - ปริมาณการส่งต่อยังพบมากขึ้น ในบางสาขา อาทิ อายุรกรรม ออร์โธปิดิกส์ สาเหตุจากความซับซ้อนในการรักษาและความไม่มั่นใจในการให้การรักษาของผู้ให้บริการ (ในปี 2559 ส่งต่อ 5 สาขาหลักจาก รพ. M2 ไป S เพิ่มขึ้นร้อยละ ข้อมูลในรายละเอียดเช่น ส่งต่อผู้ป่วยเด็กที่ on respirator ไป รพ.ระดับ S เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.81) Health need - ลดการส่งต่อ 5 สาขาหลักจาก รพ. M2 ไป S (ให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 30 จากเดิมที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.83) ทั้งภาพรวมและรายสาขา

31 Service Gap Service Gap สาขา ปัจจัยนำเข้าที่สำคัญ (Input) :
5 สาขาหลัก ปัจจัยนำเข้าที่สำคัญ (Input) : - แพทย์เฉพาะทาง ครอบคลุมถึง รพ.ช. - การพัฒนาศักยภาพ แพทย์ แพทย์เพิ่มพูนทักษะ พยาบาลดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด รวมทั้งพยาบาลที่ช่วยผ่าตัด/ดมยา - ห้องผ่าตัดที่เพียงพอ มีมาตรฐาน, อุปกรณ์เครื่องมือพร้อมใช้งาน, หน่วยจ่ายกลางที่มีศักยภาพ, ระบบ IC และ ระบบการสำลองเลือด กระบวนการ (Process) : - การจัดสรรทรัพยากร, การประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ และการพัฒนานวตกรรมที่เอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย

32 แพทย์แผนไทย สาขา สถานการณ์ แพทย์แผนไทย และการแพทย์ผสมผสาน
-การเข้าถึงบริการในด้านการรักษาทางแพทย์แผนไทยมีแนวโน้มลดลง อาทิ การใช้ยาแผนไทย การนวดแผนไทย แม้ว่าภาพรวมการให้บริการเพิ่มขึ้น โดยส่วนใหญ่เป็นการเข้าถึงบริการด้านการให้คำปรึกษา

33 การจำแนกการให้บริการการแพทย์แผนไทย

34 Health Need การบริการการแพทย์แผนไทย
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ การเป็นทางเลือกในการรักษาโรคให้กับผู้ป่วย โรคที่การแพทย์แผนไทยมีข้อมูลวิชาการสนับสนุน โรคที่เป็นปัญหาด้านสุขภาพของพื้นที่ที่การแพทย์แผนไทยสามารถรักษาได้

35 Service Gaps แพทย์แผนไทย ยังมีจำนวนไม่เพียงพอต่อการให้บริการ
ขาดสถานที่ เครื่องต้มยาสมุนไพร(สำหรับการปรุงยาตามตำรับยา) วัสดุ-ครุภัณฑ์ ยาแผนไทย ในการให้บริการการแพทย์แผนไทย การยังขาดข้อมูลด้านวิชาการในการมาสนับสนุนให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย บุคลากรแพทย์แผนไทย ยังขาดทักษะ ประสบการณ์ในการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยฯ

36


ดาวน์โหลด ppt แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google