งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
DM, HT, IHD, Stroke

2 Approach DHS WHO 9 เป้าหมาย สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยไทย
โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัย ปิงปอง 7 สี Individual Population Hospital individual Community อปท./สถานที่ทำงาน ปกติ 3 อ. 2 ส. เสี่ยง DPAC ป่วย NCD clinic ป่วย + complication คัดกรอง ตา ไต เท้า CVD risk ass. Information ทะเบียน Registry Pop-Screening (DM,HT) DHS NCD Board/กรรมการ Service plan HR: System manager/ Case manager Value Chain บูรณาการทุกกรม

3 Set of 9 voluntary global NCD targets for 2025

4 คลินิก NCD คุณภาพ เครือข่ายของคลินิก/คลินิก/ศูนย์ฯ ในสถานบริการ ที่เชื่อมโยงการบริหารจัดการและดำเนินการทางคลินิก ให้เกิดกระบวนการ ป้องกัน ควบคุม และดูแลจัดการโรคเรื้อรัง

5 ผู้ป่วยตื่น รู้ ทีมงาน พร้อม รุก
CCM PL.ppt นโยบาย/ทิศทาง ผู้ป่วยตื่น รู้ ทีมงาน พร้อม รุก Module 3- Intro to ICIC Model

6 เกณฑ์ผลลัพธ์การรักษาดูแลผู้ป่วย
ติดตามผลการป้องกันและการจัดการดูแลทั้งโดยการใช้ยาและไม่ใช้ยา ในการลดเสี่ยง ลดโอกาสเสี่ยง ลดโรคและภาวะแทรกซ้อน เช่น ผู้ป่วย DM/HT ควบคุมระดับน้ำตาล/ ระดับความดันโลหิตได้ดีตามเป้าหมาย การลดปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ป่วย การคัดกรองการสูบบุหรี่ การคัดกรองภาวะซึมเศร้า ประเมินภาวะเครียดและการติดสุรา การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) ประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ลดการนอนโรงพยาบาลไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า (unexpected admission rate) ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดอัตราการเสียชีวิตที่สัมพันธ์โดยตรงจากโรคเรื้อรัง

7 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (Assessment of Cardiovascular Risk)
อ้างอิงและประยุกต์จาก Prevention of Cardiovascular Disease, Guidelines for Assessment and Management of Cardiovascular Risk WHO 2007.

8 รูปแบบ Risk Chart ประกอบด้วย 2 กรณี **กรณีทราบผลเลือด Cholesterol
ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ 70 60 50 40 180 160 140 120 SBP (mmHg) อายุ (ปี) ชาย หญิง ผู้ที่เป็นเบาหวาน Cholesterol (mg/dl) ที่มา : WHO/ISH Risk Prediction Chart for 14 WHO epidemiological sub-regions ,2003

9 กรณีทราบผลเลือด Cholesterol
ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ 70 60 50 40 180 160 140 120 SBP (mmHg) อายุ (ปี) ชาย หญิง ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน Cholesterol (mg/dl) ที่มา : WHO/ISH Risk Prediction Chart for 14 WHO epidemiological sub-regions ,2003

10 กรณีไม่ทราบผลเลือด Cholesterol หรือสถานบริการสาธารณสุข ไม่มีบริการตรวจหา Cholesterol
ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ 70 60 50 40 180 160 140 120 SBP (mmHg) อายุ (ปี) ชาย หญิง ผู้ที่เป็นเบาหวาน ที่มา : WHO/ISH Risk Prediction Chart for 14 WHO epidemiological sub-regions ,2003

11 ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
กรณีไม่ทราบผลเลือด Cholesterol หรือสถานบริการสาธารณสุข ไม่มีบริการตรวจหา Cholesterol ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ 70 60 50 40 180 160 140 120 SBP (mmHg) อายุ (ปี) ชาย หญิง ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน ที่มา : WHO/ISH Risk Prediction Chart for 14 WHO epidemiological sub-regions ,2003

12 ระดับโอกาสเสี่ยง แถบสีจะบอกถึงโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) และ stroke (fatal , non –fatal) ■ <10% ■ <20 % ■ 20-<30% ■ 30-<40% ■ >40% ต่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก สูงอันตราย

13 แนวทางปฏิบัติการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ขั้นตอนการบริการหลังการประเมิน เสี่ยง < 20 % เสี่ยง 20 - < 30% เสี่ยง >/= 30% -ให้ข้อมูล ปัจจัยเสี่ยง และอาการเตือนของโรค - ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยงทุก 6-12 เดือน -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/จัดการตนเอง -แบบบันทึก น้ำหนัก ความดันรอบเอว (น.ค.ร.) สุขภาพด้วยตนเอง -สังเกตอาการเตือน - ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยงทุก 3-6 เดือน -ลงทะเบียน -ประเมิน Risk Healthy (Check Life’s Simple 7) -Health Coaching/ Counseling -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/จัดการตนเองอย่างเร่งด่วน -แบบบันทึก น.ค.ร. สุขภาพด้วยตนเอง -ส่งพบแพทย์วินิจฉัย ถ้าเป็นโรคส่งเข้า Fast Track - ให้ยาตามความเหมาะสม -ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยงทุก 3-6 เดือน

14 ปิงปอง 7 สี กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ปกติ ปรับพฤติกรรม 3อ. 2ส. Mass Communication ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค + กลุ่มเสี่ยง กินยาคุมอาการ ปรับพฤติกรรม 3อ. 2ส. -Group Communication -Specific Communication ติดตามต่อเนื่อง สอบสวนโรค/เหตุปัจจัย คัดกรอง ตา ไต เท้า CVD Risk Ass. ยา ปิงปอง 7 สี กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1 2 เฝ้าระวัง ลดความรุนแรงของโรค กลุ่มป่วย ระดับ 3 Home Health care โรคแทรกซ้อน

15 DHS มาตรการหลัก - คลินิกอดบุหรี่ - คัดกรอง DM & HT -3อ 2ส
1. ลดปัจจัยเสี่ยงในประชากร และสนับสนุนสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ - สุขภาพดีเริ่มต้นที่นี่ -3อ 2ส - ลดการบริโภคเกลือ -ชุมชนวิถีชีวิตไทย 2. การคัดกรอง - คัดกรอง DM & HT - คัดกรอง ตา ไต เท้า - ประเมิน CVD risks 4. พัฒนาคุณภาพ/มาตรฐานระบบบริการ -คลินิก NCD คุณภาพ -STEMI fast track 3. สนับสนุนการประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงของNCD รายบุคคล - DPAC - คลินิกอดบุหรี่ DHS

16 สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่
DHS กรมอนามัย / สป. สบส. / สป. ตำบลจัดการสุขภาพดี หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุง คลินิก DPAC 3อ 2ส ลดบริโภคเกลือ กรมการแพทย์ / สป มาตรฐานการรักษาSTEMI fast Track , Cardiac Rehabilitation สุขภาพดี ปัจจัยเสี่ยงลดลง ผู้ป่วยเข้าถึงบริการ คัดกรองและปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ฟื้นฟู ลดอัตราการ เป็นซ้ำ กรมควบคุมโรค / สป คัดกรอง DM,HT ประเมินความเสี่ยง CVD และคัดกรองตา ไต เท้า คลินิก NCD คุณภาพ สอบสวนโรค / Coaching บังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสูบ และสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ สถานประกอบการปลอดโรคปลอดภัย กายใจเป็นสุข อย. / สป บังคับใช้ ฉลาก GDA มาตรฐาน คุณภาพของยา IHD ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

17 จำนวนหมู่บ้าน-ตำบลจัดการสุขภาพดี /องค์กรไร้พุง
M & E DHS DHS -% จำนวนหมู่บ้าน-ตำบลจัดการสุขภาพดี /องค์กรไร้พุง ชุมชน สถานประกอบการ จำนวนสถานประกอบการปลอดโรคปลอดภัยกายใจเป็นสุข กลุ่มปกติ -% กลุ่มปกติ -% ปชก. 15 ปี คัดกรอง DM,HT DPAC ผลลัพธ์ 3-6 เดือน กลุ่มเสี่ยง -% กลุ่มเสี่ยง -% กลุ่มป่วย -% %การเข้าถึงบริการ กลุ่มป่วย -% (แดง,เหลือง,ส้ม)/poor control ปรับพฤติกรรม - % สีเขียว /good control -% กลุ่มป่วย DM,HT ผลลัพธ์ 3-6 เดือน ประเมิน CVD risk ตา ไต เท้า -% เลิกบุหรี่ได้ -% มาตรฐานบริการ คลินิก NCD คุณภาพ ผ่านมาตรฐาน -% อัตราตายจากSTEMI -% STEMI ได้ยาละลาย/PCI -%


ดาวน์โหลด ppt ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google