งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
36 หน่วยงาน 6 Cluster 3 กลุ่มสนับสนุน การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน กพร. 11 ตุลาคม 2559

2 ... คำสั่งกรมอนามัย ที่ 949/2559 วันที่ 21 ก.ย. 2559
กรอบการนำเสนอ 3 2 1 PA ปี 2560 ระดับกระทรวงสาธารณสุข PA ปี 2560 ระดับกระทรวงฯ - กรม (ปลัดฯ – อธิบดีกรมอนามัย) PA ปี 2560 ระดับกรม (อธิบดีกรมอนามัย – ตามม.44) PA ปี 2560 ระดับกรม (อธิบดีฯ – รองอธิบดีฯ , หน.ผู้ทรงฯ) PA ปี 2560 ระดับกรมและหน่วยงาน PA รองอธิบดีฯ  ประธาน cluster (6) / supporting group(3) - ประธาน - รองประธาน (1.ผู้ทรงฯ 2.ผอ.สำนัก/กอง) ... คำสั่งกรมอนามัย ที่ 949/2559 วันที่ 21 ก.ย. 2559 PA รองอธิบดีฯ  หน่วยงานในกำกับ - รองอธิบดี - หน่วยงานในกำกับ ... คำสั่งกรมอนามัย 936/2559 เมื่อวันที่ 30 ก.ย. 2559

3 PA ระดับกรม , Cluster และหน่วยงาน
บทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปลัดฯ, ม.44 อธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดี หน่วยงาน 3 supporting Group PA– รองประธาน(2) 6 Cluster PA – รองประธาน(2) (ผู้ทรงฯ, ผอ.สำนัก/กองฯ) หน่วยงานในกำกับ (ส่วนกลาง,ศูนย์ฯเขต) - ผอ.สำนัก/กอง/ศูนย์ฯ PA รองอธิบดี (4) PA หน.ผู้ทรง (1)

4 บทบาทและภารกิจที่คาดหวังของ Cluster-สำนัก/กอง-ศูนย์ฯ
บทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Development/ Standardization Execution/ Implementation Monitoring & Evaluation อธิบดี/ผู้บริหารระดับสูง รองอธิบดี/ Cluster + Group นิเทศก์/ผู้ทรงฯ ศูนย์เขตของกรมต่าง ๆ สำนัก/กอง.ต่าง ๆ สำนัก/กอง วิชาการ กองแผนกรม กอง-สายสนับสนุน พัฒนานโยบาย Monitoring ออกแบบมาตรการ จัดทำกรอบงบประมาณ Evaluation จัดทำ Action Plan Report : E-report, special report Monthly, Quarterly พัฒนาตัวชี้วัด นำไปสู่การปฏิบัติ

5 องค์ประกอบคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบบริหารและวิธีการทำงาน (6 Cluster + supporting FIN KISS HR)ใหม่ cluster 2560* โครงสร้าง Cluster แม่และเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน สูงอายุ สิ่งแวด ล้อม FIN KISS HR ประธาน รองธง รอง ณัฐ อธด รองดนัย รองณัฐ รองประธาน นาย ชัยพร นายสมพงษ์ นาง วิระวรรณ นางสุนีย์ นพ. ชัยพร ชลทิศ ผอ. สส. ผอ. ทันตฯ ผอ.สอพ. สภ. สอส. สว. ผอ.กผ. กจ. เลขาฯ 1 คน มาจาก ระดับหัวหน้ากลุ่มของสำนัก เบอร์สอง หรือกลุ่มยุทธ์ ที่ ผอ. มอบหมาย กรรมการ 8 – 11 คน จำนวนทั้งหมด 12 – 15 คน/cluster *ที่มางานประชุมสรุปผลแผนการดำเนินงาน คำสั่งกรมอนามัย เมื่อวันที่ 21 ก.ย. 2559

6 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (PA) ของอธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดี สู่ Cluster และหน่วยงาน

7 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย(PA) จากกระทรวง กรมสู่หน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 4 Excellence 96 ตัวชี้วัด PA ปลัดกระทรวง สาธารณสุข 4 Excellence 27 (5) ตัวชี้วัด HR นโยบาย ของอธิบดี กรมอนามัย Fin แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย 21 ตัวชี้วัด PA กรมอนามัย 4 Excellence 8 ตัวชี้วัด(5+3) KISS PMQA PA รองอธิบดีกรมอนามัย 18 ตัวชี้วัด ผู้ทรง คุณวุฒิ Alignment 12-14 ตัวชี้วัด งานตามภารกิจสำคัญ งานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 3-5ตัวชี้วัด PA 35 หน่วยงาน หน่วยงานละ10-15 ตัวชี้วัด (บังคับ7)

8 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ P&P Excellence - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (PAอธิบดี) สตรีและเด็ก สส./สพด. รอบ 1 และ 2 = 1. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ศอ.1-13 2. ร้อยละของเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำ ภายใน 30 วัน

9 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน สตรีและเด็ก สภ./สส./สท./กกส./สอน. ระดับ1-3 เป็น Process รอบ 1 ระดับ 4=48.5 ระดับ 5=49 รอบ 2 ระดับ 4= 50 ระดับ 5= 51 ศอ.1-13 4. ร้อยละของตำบลต้นแบบที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) ผ่านเกณฑ์ ผู้สูงอายุ สอส./สท./สภ./กกส./สว. รอบ 1 = รอบ 2 = 5. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน วัยเรียน สภ./สส./สท./กกส./สว./สอน. รอบ 1 และ 2 = เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 จาก Base line ระดับ1-3 เป็น Process รอบ 1 ระดับ4 = เพิ่มขึ้น 0.5 ระดับ5 = เพิ่มขึ้น 1.0 รอบ 2 ระดับ4 = เพิ่มขึ้น 2.0 ระดับ5 = เพิ่มขึ้น 3 จาก Base line รอบ 1 = รอบ 2 =  

10 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 6. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี วัยรุ่น สอพ./ สส. รอบ 1 และ 2 = ศอ.1-13 ระดับ 3 =ลดลง จาก Base line (อัตรา1-3) 7. ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน อายุ30-44ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ วัยทำงาน สส./สท./สภ./กกส. รอบ 1 = รอบ 2 =  เพิ่มขึ้นจาก Base line ระดับละ 0.5 8. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital สิ่งแวดล้อม สว./สอน./ กป. รอบ 1= รอบ 2= รอบ 1 = รอบ 2 =  

11 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 9. ร้อยละตำบลต้นแบบบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม ผ่านเกณฑ์ (ค่ากลาง) 6 clurter สส./สภ./สท./สอพ./กกส./สพด./ สอส./สว.สอน./ กป. รอบ 1 =  รอบ 2 = ศอ.1-13 รอบ 1 Process ระดับ1-3 ระดับ4 = 25 ระดับ5 = 30 รอบ 2 Process ระดับ1-2 ระดับ3 = 31-40 ระดับ4 = 41-50 ระดับ5 = >50

12 รอบการประเมิน/คะแนนการประเมิน
10. ร้อยละของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพช่องปากและโภชนาการ PA อธิบดีกรมอนามัย : สำนักทันต์ สำนักโภชนาการ ระดับ รอบการประเมิน/คะแนนการประเมิน 5 เดือนแรก คะแนน 5 เดือนหลัง 1 มีแนวทางการดำเนิน- งานจัดบริการฯ ศูนย์อนามัยรับทราบวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงาน PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 40 ของเป้าหมาย 2 จังหวัดรับทราบวัตถุ-ประสงค์ เป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงาน PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย 3 มีพื้นที่ดำเนินงานและแผนงานร่วมของจังหวัดและโรงพยาบาลแม่ข่าย PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย 4 มีการดำเนินงานตามแผน มีการนิเทศติดตาม รวมทั้งวิเคราะห์ประเด็นปัญหาโดยศูนย์อนามัย PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 100 ของเป้าหมาย 5 มี PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 20 ของเป้าหมาย รายงานสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการและเชิงนโยบาย คะแนนรวม

13 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จ
เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย 5. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน หน่วยงาน Base Line 2559 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จ 1 2 3 4 5 ศอ. 1 61.8 63 63.5 64 64.5 65 ศอ. 2 61.2 62 62.5 ศอ. 3 63.0 65.5 66 ศอ. 4 64.0 66.5 67 ศอ. 5 62.6 ศอ. 6 63.6 ศอ. 7 66.0 67.5 68 68.5 69 ศอ. 8 ศอ. 9 69.2 70 70.5 71 71.5 72 ศอ. 10 63.4 ศอ. 11 62.9 ศอ. 12 60.8 ศอ. 13 -

14 เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย
ตัวชี้วัดที่ 6. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี หน่วยงาน Base Line อัตราที่ลดลง เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จ 1 2 3 4 5 ศอ. 1 33.5 1.7 35.8 34.8 33.8 32.8 31.8 ศอ. 2 43.0 2.2 44.8 43.8 42.8 41.8 40.8 ศอ. 3 47.8 2.5 49.3 48.3 47.3 46.3 45.3 ศอ. 4 2.4 47.9 46.9 45.9 44.9 43.9 ศอ. 5 51.8 2.7 53.1 52.1 51.1 50.1 49.1 ศอ. 6 55.6 2.9 56.7 55.7 54.7 53.7 52.7 ศอ. 7 38.8 2.0 39.8 37.8 36.8 ศอ. 8 47.5 46.5 45.5 44.5 43.5 ศอ. 9 46.8 48.4 47.4 46.4 45.4 44.4 ศอ. 10 40.3 2.1 42.2 41.2 40.2 39.2 38.2 ศอ. 11 48.1 49.6 48.6 47.6 46.6 45.6 ศอ. 12 39.9 ศอ. 13 39.0 41.0 40.0 38.0 37.0

15 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ หน่วยงาน Base line ร้อยละ รอบการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ศอ. 1 51.83 5 เดือนแรก 50 51.5 52 52.5 53 5 เดือนหลัง 51.0 54 ศอ. 2 47.68 47 47.5 48 48.5 49 46 47.0 49.0 ศอ. 3 50.98 50.5 51 50.0 52.0 ศอ. 4 54.82 54.5 55 55.5 56 54.0 56.0 57 ศอ. 5 53.78 53.5 53.0 55.0 ศอ. 6 58.27 57.5 58 58.5 59 57.0 59.0 60 ศอ. 7 57.45 56.5 58.0 ศอ. 8 55.86 ศอ. 9 55.37

16 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ หน่วยงาน Base line ร้อยละ รอบการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ศอ. 10 54.85 5 เดือนแรก 54 54.5 55 55.5 56 5 เดือนหลัง 53 54.0 56.0 57 ศอ. 11 49.79 49 49.5 50 50.5 51 48 49.0 51.0 52 ศอ. 12 50.43 ศอ. 13 -

17 ตัวชี้วัดที่ 11 – 18 ตัวชี้วัดที่กำหนดให้ทุกหน่วยงานดำเนินการ 7 ตัวชี้วัด

18 เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง
11. ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล ระดับ เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก 1 วิเคราะห์และทบทวนตัวชี้วัดเพื่อการถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับกลุ่มงานและรายบุคคล 2 - จัดทำคำรับรองฯ ระหว่างหัวหน้าหน่วยงาน กับหัวหน้ากลุ่ม ระดับบุคคล โดย มีเกณฑ์การประเมินผลอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม - มีการจัดทำแบบมอบหมายงานรายบุคคล 3 มีการสื่อสารตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้กับบุคลากรในหน่วยงานทราบและดำเนินการตามตัวชี้วัด 4 มีการกำกับติดตามความก้าวหน้าของตัวชี้วัดระดับหน่วยงานและระดับบุคคล 5 รายงานผลการดำเนินการความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด ระดับ เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง 1 - วิเคราะห์และทบทวน ตัวชี้วัดเพื่อการถ่ายทอดสู่ระดับกลุ่มงานและรายบุคคล - นำผลการประเมินการปฏิบัติงานของรอบที่ผ่านมา ศึกษา ทบทวน 2 - มีการจัดทำแบบมอบหมายงานรายบุคคล - ถ่ายทอด/ชี้แจง/ทำความเข้าใจให้บุคลากร 3 - มีการสื่อสารตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้กับบุคลากรในหน่วยงานทราบและดำเนินการ - จัดทำแผนพัฒนารายบุคคล และแผนพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน 4 - มีการกำกับติดตามความก้าวหน้าของตัวชี้วัดระดับหน่วยงานและระดับบุคคล - ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ 5 - รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด - สรุปการดำเนินงานการพัฒนารายบุคคล และรายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ ทั้งระดับบุคคล และดับหน่วยงาน

19 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยปฏิบัติ ค่าเป้าหมาย • Governance Excellence - คะแนนการประเมิน ITA (PAอธิบดี) 12. ร้อยละการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของบุคลากรในหน่วยงาน สังกัดกรมอนามัย HR  36 หน่วยงาน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือน 60 65 70 75 80 รอบ 10 เดือน

20 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่า เป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ค่าเป้าหมาย 13. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based) (EBIT) HR 36หน่วยงาน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือน 60 65 70 75 80 รอบ 10 เดือน

21 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ • Governance Excellence 14. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ FIN 36 หน่วยงาน วิธีคิด กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายตามมติ ค.ร.ม. เป็นรายเดือน เดือนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เป้าหมาย งบภาพรวม 30 37 44 52 59 66 73 81 89 96 อัตราเพิ่ม +7 +8 เป้าหมายงบลงทุน 19 26 33 41 48 55 63 71 79 87 หมายเหตุ : ติดตามผลการเบิกจ่าย ในการประชุมผู้บริหารทุกเดือน แต่นำผลการเบิกจ่ายมาใช้ประเมินผล การปฏิบัติราชการ เฉพาะเดือนที่ 5 และ 10

22 เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน
14. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ กำหนดค่าเป้าหมาย ที่ระดับ 4 เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 รายจ่ายภาพรวม 41 42 43 44 45 รายจ่ายลงทุน 30 31 32 33 34 เกณฑ์การประเมิน : รอบ 10 เดือน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 รายจ่ายภาพรวม 78 79 80 81 82 รายจ่ายลงทุน 68 69 70 71 72

23 แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
15. ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 อย่าง เฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน ขั้นตอน แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน คะแนน 1 มีการใช้ข้อมูล หลักฐาน สาเหตุ การวินิจฉัย (Diagnosis) ตามบทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์ เพื่อกำหนด หัวข้องานวิจัย การผลิตและพัฒนา ผลงานวิชาการ ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรม 2 เสนอร่างโครงการดำเนินงานการผลิตหรือพัฒนา ผลงานวิชาการฯลฯ และจัดทำแผนปฏิบัติงาน ส่งให้ Cluster โดยต้องได้รับการคัดเลือกอย่างน้อย 1 โครงการ 3 ดำเนินการโครงการที่ได้รับการคัดเลือกตามแผนปฏิบัติงาน และรายงานผลความก้าวหน้าให้ Cluster ทราบทุกเดือน เกณฑ์การประเมิน : รอบ 10 เดือน ขั้นตอน แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน คะแนน 4 ประเมินผลงานวิจัย ผลงานวิชาการฯลฯ ที่ผลิตหรือพัฒนา โดยแสดงข้อมูลเชิงประจักษ์ในการใช้ประโยชน์ได้จริง พร้อมทั้งประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพ โดยหน่วยงานประเมินตนเอง ประเมินความสอดคล้องกับนโยบาย (กระทรวง) และเป็นกลไกการขับเคลื่อนนโยบายระดับเขตสุขภาพ ประเมินโดย Cluster ที่เกี่ยวข้อง 3 5 สรุปถอดบทเรียนการดำเนินงาน 2

24 แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
ตัวชี้วัดที่ 16 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานการเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม เฉพาะหน่วยงานวิชาการในส่วนกลาง เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน ขั้นตอน แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน 1 กำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 0.5 2 จัดทำแผนการดำเนินงาน การเฝ้าระวัง ที่ครอบคลุมการสำรวจ จัดเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล 3 ดำเนินตามแผน และรายงานข้อมูลผ่านระบบ วิเคราะห์ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล จากระบบ HDC และให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง 1.5 4 นำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 3 มา วิเคราะห์ ประเมินสถานะหรือสภาวะของบุคคล ชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม ในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด 5 สรุปรายงานผล ที่ใช้ดำเนินการในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด เกณฑ์การประเมิน : รอบ 10 เดือน ขั้นตอน แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน 1 ทบทวนแผนการดำเนินงาน 0.5 2 ดำเนินตามแผน และรายงานข้อมูลผ่านระบบ วิเคราะห์ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล จากระบบ HDC และให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง 3 นำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 3 มา วิเคราะห์ ประเมินสถานะหรือสภาวะของบุคคล ชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม ในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด 1.5 4 สรุปผลการดำเนินและถอดบทเรียน

25 Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 17. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรมอนามัยสู่องค์กร HPO กพร. 36 หน่วยงาน กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) 5 ระดับ ระดับ แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน คะแนน  1 มีแผนการพัฒนาองค์กร โดยใช้เครื่องมือ PMQA 2 มีการดำเนินงงานตามแผนอย่างครบถ้วน และมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลทุกระยะ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศ พร้อมใช้ และเชื่อมโยงกับระบบ KISS ของกรมอนามัย 4 มีการนำความรู้จากระบบ ไปใช้ประโยชน์ 5 แสดงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ว่าความรู้ (ข้อ 4) ถูกนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการเรียนรู้ ต่อยอดและพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงาน หมวด 2 หมวด 4

26 ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (PA) 36 หน่วยงาน (หน้า 1)
สส สภ สท สอพ กกส สพด สอส สว สอน กป ศอ. หน่วยอื่นๆ - พัฒนาการสมวัย 1 1. พัฒนาการสงสัยล่าช้า 2. ติดตามพัฒนาการล่าช้า 3. เด็ก 0-5 ปี สูงดี สมส่วน 4. Long Term Care 5. เด็ก6-14 ปี สูงดี สมส่วน - 6. การคลอดในหญิง 15-19 ปี 7. วัยทำงาน30-44ปี มี BMI ปกติ 8. GREEN&CLEAN Hospital 9. ตำบลต้นแบบ บูรณาการ 10. เครือข่ายบริการ ปฐมภูมิ -PCC  - รวม หน้า 1 7 6 2 5 4 9

27 ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (PA) 36 หน่วยงาน (หน้า 2)
สส สภ สท สอพ กกส สพด สอส สว สอน กป ศอ. ทน่วยอื่นๆ 11. ถ่ายทอดตัวชี้วัด จากหน่วยงาน สู่บุคคล  1 1 - การประเมิน ITA 12. การรับรู้เรื่องการ ประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส 13. ระดับคุณธรรมและ ความโปร่งใส –EBIT 14. การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ 15. งานวิจัย วิชาการ 16. การเฝ้าระวัง 17. องค์กร HPO 18. ผลงานที่โดดเด่น รวมทั้งสิ้น 15 14 10 13 12 7

28 ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (PA) สำนักผู้ทรงคุณวุฒิ
1. พัฒนาการสงสัยล่าช้า 1 2. ติดตามพัฒนาการล่าช้า 3. เด็ก 0-5 ปี สูงดี สมส่วน 4. Long Term Care 5. เด็ก6-14 ปี สูงดี สมส่วน 6. การคลอดในหญิง ปี 7. วัยทำงาน30-44ปี มี BMI ปกติ 8. GREEN&CLEAN Hospital 9. ตำบลต้นแบบบูรณาการ 10. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ -PCC 11. ถ่ายทอดตัวชี้วัดจากหน่วยงานสู่บุคคล 15. งานวิจัย วิชาการ 16. การเฝ้าระวัง 18. ผลงานที่โดดเด่น รวม 13

29 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2560
องค์ประกอบการประเมิน / ตัวชี้วัด Functional Based 1.1 11. ความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 1.2 12. ร้อยละการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของบุคลากร 1.3 13. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน –EBIT 1.4 14. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน) 1.5 16. การเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (วิชาการ/ศูนย์อนามัย) 1.6 ตัวชี้วัดที่หน่วยงานเสนอเพิ่มเติม 1.7 1.8 ..... ตัวชี้วัดที่หน่วยงานเสนอเพิ่มเติม ตัวชี้วัดทุกตัวมีน้ำหนักเท่ากัน โดยมีคะแนนเต็มตัวละ 5 คะแนน ทุกหน่วยงานมีตัวชี้วัด ตัวชี้วัด

30 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2560
องค์ประกอบการประเมิน / ตัวชี้วัด Agenda Based 2.1 1. ร้อยละของเด็ก มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า 2.2 2. ร้อยละของเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตาม 2.3 3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 2.4 4. ร้อยละของตำบลต้นแบบ Long Term Care 2.5 5. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 2.6 6. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 2.7 7. ร้อยละของประชาชน อายุ ปี มีค่า BMI ปกติ 2.8 8. ร้อยละของโรงพยาบาล GREEN&CLEAN Hospital 2.9 10. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ - PCC

31 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2560
องค์ประกอบการประเมิน / ตัวชี้วัด Area Based 3.1 9. ร้อยละตำบลต้นแบบบูรณาการ ด้านHP และ Env. Innovation Based 4.1 15. งานวิจัยหรือผลงานวิชาการ ฯลฯ ถูกนำไปใช้ประโยชน์ 4.2 17. การดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรมอนามัยสู่องค์กร HPO Potential Based 5.1 18. ผลงานที่มีความโดดเด่น

32 ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย - พิธีลงนามคำรับรอง
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ก.สาธารณสุข กิจกรรมการดำเนินการ กรมอนามัย 11 ต.ค. 59 ทุกกรม เสนอ (ร่าง) มาตรการ เป้าหมาย Small Success รอบ 3,6,9 และ 12 เดือนในที่ประชุม TBM Workshopการจัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน 13-14 ต.ค. 59 28 ต.ค. 59 พิธีลงนามในคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PAกระทรวง) กรมอนามัย - พิธีลงนามคำรับรอง 1 พ.ย. 59

33


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google