โดย นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นโยบายการพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชนตามกลุ่มวัย (ปฐมวัย) ในการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ โดย นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วันที่ 2 พฤษภาคม 2559 ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๑๗ อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

สภาพปัญหา ความเป็นมา ของโครงการตำบลจัดการสุขภาพ การเข้าถึงบริการสุขภาพในทุกระดับไม่เท่าเทียมกัน เกิดความเหลื่อมล้ำ ขาดโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ปัญหาด้านพฤติกรรมสุขภาพทำให้โรคติดต่อไม่เรื้อรังมีแนวโน้มสูงขึ้น การมีส่วนร่วมด้านสุขภาพของชุมชน ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ ขาดการบูรณาการและพลังในการพัฒนา

สภาพปัญหา ความเป็นมา ของโครงการตำบลจัดการสุขภาพ(ต่อ) ปัญหาสุขภาพมีความซับซ้อน ไม่สามารถแก้ไขด้วยหน่วยงานเดียว ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นการพัฒนาบทบาทของชุมชน ท้องถิ่น นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

คุณค่าความดี 5 ประการสำคัญที่ต้องขับเคลื่อนในตำบลจัดการสุขภาพ ความซื่อสัตย์ สุจริต การเป็นอยู่อย่างพอเพียง การมีจิตสาธารณะ การกระทำอย่างรับผิดชอบ ความเป็นธรรมทางสังคม

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน มีเหตุผล เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญา แบ่งปัน) เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สมดุล /พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง

แนวคิดการจัดการในระดับตำบล ภาคี รร. อบต. เทศบาล วัด ชมรม อสม. เสริมสร้างพลังความเข้มแข็งภาคี ติดตาม/กำกับ/ตรวจสอบ ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี หน่วยงานสาธารณสุข ความร่วมมือ จากภาคี การจัดการ ข้อมูล แม่และเด็ก วัยเรียน คุณลักษณะ 4 ข้อ เข้มแข็ง และยั่งยืน วัยรุ่น วัยทำงาน มีแผน& ประเมินผล การ ดำเนินงาน ระดม ทรัพยากร ผู้สูงอายุ สื่อสารสาธารณะ / การจัดการความรู้

ปัจจัยเสี่ยง 5 กลุ่มวัย องค์ประกอบ DHS (U-CARE) การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity District health Team) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Community participation) การทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการ และ ตัวผู้บริการเอง (Appreciation) การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร (Resource sharing and human development) การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) ลดปัญหาและ ปัจจัยเสี่ยง 5 กลุ่มวัย

ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 1. การร่วมมือภาคส่วนต่างๆ การบูรณาการ ในการ แก้ปัญหากลุ่มวัย 2. ระดม ความคิด ความร่วมมือ แก้ปัญหาเชิงยุทธศาสตร์ 3. เกิดโครงการ กิจกรรมชุมชน มาตรการทางสังคม 4. เน้นเชิงรุก สร้างสำนึก ปรับพฤติกรรม แก้ปัญหาที่ ต้นเหตุ 5. สร้างเสริมพลังการพัฒนา 6. เน้นการเรียนรู้ การสร้างต้นแบบ เครือข่ายร่วมพัฒนา 7. การวัดประเมินความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม

ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ ตำบลดูแล LTC เป็น Entry point สู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ เป้าหมาย : 1. ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (ร้อยละ 70) ประเด็นที่มุ่งเน้น ระบบข้อมูล การบริการ การบริหารจัดการ 2.1 กลุ่มแม่และเด็ก - หญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยง - พัฒนาการเด็กสมวัย 2.2 กลุ่มวัยเรียน - Defect ที่มีผลต่อการเรียนรู้ : สายตา, LD, IQ/EQ 2.3 กลุ่มวัยรุ่น - Teenage Preg. ALC/บุหรี่ 2.4 กลุ่มวัยทำงาน - CKD / DM / HT 2.5 กลุ่มผู้สูงอายุ - ผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียง 1. ฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลของคนในพื้นที่(ระดับตำบล) 2. HDC การป่วย/การส่งต่อ (ระดับอำเภอ / ระดับจังหวัดและ ระดับเขต ) 1. การเฝ้าระวัง/คัดกรอง ตามประเด็นที่มุ่งเน้น ของ 5 กลุ่มวัย (ตำบล) 2. การจัดระบบบริการดูแลต่อเนื่อง รองรับ กลุ่มเสี่ยงที่ส่งต่อมาจากตำบล (อำเภอ/ จังหวัด/ส่วนกลาง) 2.1 กลุ่มแม่และเด็ก : MCH board Quality 2.2 กลุ่มวัยเรียน การช่วยเหลือและแก้ไข เด็กที่มีภาวะผิดปกติของสายตา, LD, IQ/EQ YFHS , O-HOS CKD Clinic , NCD คุณภาพ Long Term Care 1. มี Program Manager การจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แบบบูรณาการ ทั้งในระดับส่วนกลาง เขต จังหวัด และอำเภอ 2. บูรณาการ ระดับพื้นที่ 1.1 ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) 1.2 ตำบลจัดการสุขภาพ 1.3 ทีมหมอครอบครัว (FCT) 1.4 งานสาธารณสุขมูลฐานต่อยอด อสม. 3. M&E หา Good / Best Practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แบบบูรณาการ Quick win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ตำบลมีฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลในพื้นที่ มีตำบลต้นแบบดูแล LTC อย่างน้อย 1,000 ตำบล ตำบลต้นแบบดูแล LTC สามารถขยายผลสู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ ได้ อย่างน้อย 1,000 ตำบล มี Best practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ

ความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพ อสม ความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพ อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนตาม กลุ่มวัย (ปฐมวัย) ปี 2559กระทรวงสาธารณสุขกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต อย่างเป็นรูปธรรมทุกระดับ เพื่อการบูรณาการทุกภาคส่วน รวมพลังให้ทุกกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัยมีคุณภาพชีวิตที่ดี พัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจในทิศทางนโยบาย เข็มมุ่ง เป้าหมาย และผลผลิต แก้ปัญหาสุขภาพชุมชนแต่ละกลุ่มวัยสู่การบรรลุผลสำเร็จ พัฒนาวิทยากรพี่เลี้ยงและ อสม.เพื่อทำบทบาทได้เหมาะสมโดยเน้นเรื่องการพัฒนาเด็กปฐมวัย ลดอุบัติเหตุและผู้สูงอายุ

การพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการบริการปฐมภูมิระดับชุมชนตามกลุ่มวัย เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับบริการปฐมภูมิระดับชุมชนที่มีคุณภาพ จากอสม. เป้าหมายการอบรม : อสม. ตำบลละ 6 คน รวมทั้งสิ้น 52,236 คน

ความร่วมมือในโครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชมมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 สนับสนุนการดำเนินการมีเจ้าหน้าที่เข้าร่วมตลอด นโยบายอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชนตามกลุ่มวัย เน้นเด็กปฐมวัย ตำบลละ 6 คน รวมทั้งสิ้น 52,236 คน เผยแพร่ข่าวสารการดำเนินการโครงการฯให้ อสม. และเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมในส่วนที่เกี่ยวข้องโดยตลอด

บทบาท อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน ตามกลุ่มวัย(ปฐมวัย) สำรวจข้อมูลเด็กและหญิงตั้งครรภ์ให้เข้ารับบริการสาธารณสุขในละแวกบ้านเรือนที่รับผิดชอบ 10-15 หลังคาเรือนและส่งต่อข้อมูลที่พบเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข( รพ.สต.) เฝ้าระวังและส่งเสริม กระตุ้นพัฒนาการเด็กให้สมวัย ติดตามและส่งต่อ เด็กที่พัฒนาการไม่สมวัย(ล่าช้า)ให้เข้าสู่ระบบบริการอย่างต่อเนื่อง ติดตามเด็กที่ขาดการรักษา ติดตามไม่ได้ ให้เข้ารับบริการกระตุ้น รักษาที่ต่อเนื่อง ร่วมเป็นทีมหมอครอบครัว ติดตาม เยี่ยมบ้าน

รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ข้อมูล ณ วันที่ 27 เม.ย.59

รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ (ต่อ) ข้อมูล ณ วันที่ 27 เม.ย.59

รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ (ต่อ) ข้อมูล ณ วันที่ 27 เม.ย.59

รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. ปีงบประมาณ 2559 ส่วนที่ 1 จำนวน อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ (ต่อ) ข้อมูล ณ วันที่ 27 เม.ย.59

สรุปภาพรวมของการดำเนินงาน จำนวน อสม. ที่ได้รับการอบรม สบส. เขต จำนวน อสม. ทั้งหมด จำนวน อสม. เป้าหมาย จำนวน อสม. ที่ได้รับการอบรม ร้อยละ 1 133,311 5,669 1,019 17.97 2 71,371 3,036 2,952 97.23 3 60,576 2,920 4 65,244 5,118 5 73,430 4,781 1,913 40.01 6 73,955 4,187 3,235 77.26 7 105,556 4,560 1,218 26.71 8 106,937 4,755 100.00 9 130,233 5,148 1,194 23.19 10 87,288 4,113 378 9.19 11 76,188 3,761 720 19.14 12 63,711 4,188 276 6.59 รวม 1,047,800 52,236 17,660 33.81 ที่มา : ข้อมูล ณ วันที่ 27 เม.ย.59

ปัญหาและข้อเสนอ การทำงานในพื้นที่ยังไม่บูรณาการ แยกทำตามกลุ่ม กรม การทำงานในพื้นที่ยังไม่บูรณาการ แยกทำตามกลุ่ม กรม ต่างๆ ต่างคนต่างทำ งานหนักอยู่ที่ รพ.สต. เช่นเดิม ไม่ยึดพื้นที่ตำบลเป็นฐานการทำงาน ซึ่งต้องบูรณาการ ดึงทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ทำจริงจัง ผู้บริหารต้องลงมาทำด้วยเห็นปัญหา สั่งการ แก้ไข ปัญหา เป็นกำลังใจตั้งทีมช่วย นิเทศ ติดตาม เยี่ยมชม จึงจะแก้ปัญหาสุขภาพชุมชนแต่ละกลุ่มวัยบรรลุผลสำเร็จ

ขอบคุณ