การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาและผู้ปกครองที่มีต่อ
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 นางขวัญดาว จันมลฑา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

จุดประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการ กลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อนและหลังการพัฒนาบุคลิกภาพ ด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ ด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของ นักศึกษาในระดับชั้น ปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาจากกลุ่มประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 จำนวน 17 คน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลจากการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษา ในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า ก่อนการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของนักศึกษา นักศึกษาใหญ่จะเกี่ยงกันนำเสนอ ออกมานำเสนองานโดยขาดความมั่นใจ กลัว ไม่กล้าพูดเสียงดัง ยืนไม่นิ่ง ไม่รู้ว่าจะเอามือไว้ที่ไหน ไม่กล้าสบตาเพื่อน เรียบเรียงคำพูดไม่เป็น หลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 2. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อนและหลังการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า นักศึกษากล้าแสดงออกมากขึ้นจากเดิมร้อยละ 29.41 เป็น 76.47 เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.06 แสดงว่าหลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้าน การแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ใน การจัดการเรียนการสอนรายวิชาศิลปการขายชั้นสูง ทำให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง และกล้าแสดงออกมากขึ้น

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมากที่สุด ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือนักศึกษามีความมั่นใจในตนเองและกล้าแสดงออก รองลงมาคือมีโอกาสแสดงความคิดเห็น ได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ทำให้นักเรียนกล้าคิดกล้าตอบ เข้าใจในเนื้อหามากขึ้น มีความกระตือรือร้นในการเรียน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และกลุ่ม ส่งเสริมการคิดและตัดสินใจ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ตามลำดับ

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษา ในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า ก่อนการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของนักศึกษา นักศึกษาส่วนใหญ่จะเกี่ยงกันนำเสนอ ออกมานำเสนองานโดยขาดความมั่นใจ กลัว ไม่กล้าพูดเสียงดัง ยืนไม่นิ่ง ไม่รู้ว่าจะเอามือไว้ที่ไหน ไม่กล้าสบตาเพื่อน เรียบเรียงคำพูดไม่เป็น หลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อนและหลังการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า นักศึกษากล้าแสดงออกมากขึ้นจากเดิมร้อยละ 29.41 เป็น 76.47 เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.06

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมากที่สุด ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือนักศึกษามีความมั่นใจในตนเองและกล้าแสดงออก รองลงมาคือมีโอกาสแสดงความคิดเห็นความคิดเห็น ได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ทำให้นักเรียนกล้าคิดกล้าตอบ เข้าใจในเนื้อหามากขึ้น มีความกระตือรือร้นในการเรียน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และกลุ่ม ส่งเสริมการคิดและตัดสินใจ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ตามลำดับ

หลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100

ได้รับรางวัล ทีมชนะเลิศ ประเภท New Scoopy I The Adventure สุดหล้า...ซ่านิยม ในการประกวดโครงการ “Marketing Plan Contest โครงการ 7 by A.P. Honda” จังหวัดอุตรดิตถ์

ทีม Green Day ได้รับรางวัล ทีมรองชนะเลิศ ประเภท ZOOMER-X Life Unblocked แสบสรรค์ มันส์นอกกรอบ ในการประกวดโครงการ “Marketing Plan Contest โครงการ 7 by A.P. Honda” จังหวัดอุตรดิตถ์ ทีม Seeker ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภท New Scoopy I The Adventure สุดหล้า...ซ่านิยม ในการประกวดโครงการ “Marketing Plan Contest โครงการ 7 by A.P. Honda” จังหวัดอุตรดิตถ์

นางสาวนฤมล คล้ายชม นางสาววารุณี สุขมั่น นางสาวสุภาวิณี ปานวล นางสาวนฤมล คล้ายชม นางสาววารุณี สุขมั่น นางสาวสุภาวิณี ปานวล นางสาวศิริพร เพชรรัตน์ ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง วิชาเทคนิค การนำเสนอขายสินค้าและบริการ ระดับ ปวส. การแข่งขันทักษะวิชาชีพและกีฬานักเรียนนักศึกษา สถานศึกษาเอกชนในระบบ ประเภทอาชีวศึกษาระดับภาค ครั้งที่ 28 ประจำปีการศึกษา 2558 ณ จังหวัดพะเยา

ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. ในการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 ผู้วิจัยได้ใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ และสังเกตพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถทำให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น ดังนั้นครูสามารถนำผลการวิจัยไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ในวิชาอื่นๆ หรือระดับชั้นอื่นๆ ที่มีพฤติกรรมคล้ายคลึงกันได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ครูต้องศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนก่อนการปรับพฤติกรรม เพื่อให้ การจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพต่อไป

ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 2. ครูสามารถร่วมกับคณะครูที่สอนนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ทำการปรับพฤติกรรมการเรียนนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด เพื่อให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกันในทุกวิชา