แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
กิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ หน่วยงานสนับสนุน สสส
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ
งาน Palliative care.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan ข้อมูล ต.ค.59 – ม.ค.60 )
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง การดำเนินงานตามแผน การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2560-2564 สาขา Palliative Care แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง

แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่1 Palliative care team+Care manager+CPG Strong opioid medication+ทางเลือก ขั้นตอนที่2 Family meeting+Advance care planning Pain/Palliative Clinic ขั้นตอนที่3 การดำเนินงานร่วมกับชุมชน ขั้นตอนที่4 การสร้างเครือข่ายและแนวทางการรับส่งต่อ มีคลังอุปกรณ์ที่ใช้ในการสนับสนุนผู้ป่วย ขั้นตอนที่5 การติดตามการบรรลุเป้าหมาย มีงานวิจัยหรืองานพัฒนาคุณภาพ

ขั้นตอนการดำเนินงาน คำนิยาม 8กลุ่มโรค 10ข้อบ่งชี้ การให้ข้อมูล Family meeting and advance care planning การดูแลตามมาตรฐาน กรมการแพทย์

กำหนดกลุ่มโรค โรคมะเร็ง Neurological disease/Stroke CKD ที่ต้องรับ RRT และCKDที่มีภาวะคุกคามชีวิต Pulmonary and Heart disease Multiple trauma patient Infectious disease HIV/AIDS Pediatric Aging/Dementia

กำหนดข้อบ่งชี้ มีการถดถอยของการประกอบกิจกรรมประจำวัน (PPS≤50/KPS ≤50/ECOG≥3) Multiple Co-morbidity โรคอยู่ในระยะลุกลาม ไม่คงตัว มีอาการซับซ้อนที่ไม่สุขสบายมาก Terminal delirium Cachexia,น้ำหนักลดต่อเนื่อง,Serum alb<2.5 mg/dl ต่อเนื่อง Persistent hypercalcemia ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ผู้ป่วยหรือครอบครัวเลือกที่จะไม่รักษาต่อไปอย่างเต็มที่ เข้ารับการรักษาในรพ.อย่างไม่คาดหมายบ่อยครั้ง มีเหตุการณ์ที่มีผลกระทบ เช่น การล้มรุนแรง ภาวะสูญเสีย การรับเข้าดูแลในสถานพยาบาล/บริบาล

นิยามผู้ป่วยระยะท้าย โรครักษาไม่หายที่มีภาวะคุกคามชีวิต มีการพยากรณ์โรค 6 เดือน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

การดำเนินงาน การดูแลแบบประคับประคอง จังหวัดเชียงใหม่

แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่1 ผลักดันการสร้างทีมงานที่ผ่านการอบรม ผลักดันการจัดตั้ง Palliative clinic ผลักดันการใช้ Strong opioid medication ขั้นตอนที่2 ผลักดันการสร้างแนวทางการดูแลผู้ป่วยตามบริบท, Family meeting+Advance care planning สร้างเครือข่ายและแนวทางการรับส่งต่อ ขั้นตอนที่3 ผลักดันการดำเนินงานร่วมกับชุมชน ผลักดันการมีคลังอุปกรณ์ ขั้นตอนที่4 การติดตามงานให้บรรลุเป้าหมาย ผลักดันงานวิจัย/พัฒนาคุณภาพ

กลุ่มเป้าหมายและตัวชี้วัด การนิเทศและประเมินผล ขั้นตอนการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคองตามมาตรฐานจนถึงวาระสุดท้าย กลุ่มเป้าหมายและตัวชี้วัด ผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม 5ตัวชี้วัดคุณภาพ การนิเทศและประเมินผล แผนการตรวจราชการ

ตัวชี้วัดจังหวัดเชียงใหม่ ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลแบบประคับประคองมากกว่าร้อยละ 50 อัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยอาการรบกวนซ้ำใน 28 วันของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง น้อยกว่าร้อยละ 10 อัตราการเข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการรบกวนซ้ำใน 48 ชั่วโมง ของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง น้อยกว่าร้อยละ 10 ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองมีการรักษาด้วย Strong opioid medication มากกว่าร้อยละ 30 ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองมีการบรรลุเป้าหมายตาม Advance care plan มากกว่าร้อยละ 80

แนวทางการดูแลผู้ป่วย ระยะท้ายแบบประคับประคอง จังหวัดเชียงใหม่

การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ยอมรับและพร้อมเผชิญความตายอย่างสมศักดิ์ศรี เตรียมพร้อมทุกด้านก่อนตาย ดูแลครอบครัวหลังการสูญเสีย เปลี่ยนจากยืดเวลาก่อนตายเป็น “อยู่ให้มีความสุขอย่างไรในเวลาที่เหลืออยู่” คุณภาพชีวิต เปลี่ยนจากการรักษาโรคเป็น “การดูแลคน” คนป่วย ครอบครัว

แนวทางการดำเนินงาน พบผู้ป่วยที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับประคอง Family meeting and advance care planning ทุกราย ให้การดูแลแบบประคับประคองตามบริบทแต่ละอำเภอ ส่งดูแลต่อเนื่องที่บ้านทุกราย นัดติดตามการรักษาที่ Palliative Clinic ทุกราย

แนวทางการพัฒนาตามบริบท องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งเสริมบทบาทพระสงฆ์ ระบบผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน และเยี่ยมบ้าน จัดทำแนวทางการดำเนินงานทุกจุด จัดทำคู่มือ กำหนดบัญชีรายการยาและอุปกรณ์ ความเพียงพอและการเข้าถึงยาที่จำเป็นต่อการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ความปลอดภัยในการใช้ยาและการควบคุมยามอร์ฟีน กำหนดโครงสร้างและบทบาทที่ชัดเจน พัฒนาศักยภาพทีมและเครือข่าย จัดระบบการประสานงาน พัฒนาทีมและเครือข่าย พัฒนายาและอุปกรณ์ สนับสนุนบทบาทของชุมชน พัฒนารูปแบบและบริการ

ทุกคนมีสิทธิ์เลือกการดูแลในระยะท้ายของชีวิต