การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
Advertisements

การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ร้อยละของอำเภอทีมี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ กับ ชุมชนและท้องถิ่น อย่างมีคุณภาพ ( ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตำบลจัดการสุขภาพ.
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
สร้างเครือข่ายในชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558

ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System (DHS) เป็นการทำงานสุขภาพโดยใช้อำเภอเป็นฐาน มองทุกส่วนอำเภอเป็นเนื้อเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นสาธารณสุข ส่วนราชการ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายภาคประชาชน โดยมีเป้าหมายที่จะขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพของคนทั้งอำเภอ ผสมผสานทั้งงาน ส่งเสริม ป้องกัน รักษาฟื้นฟูเข้าด้วยกัน ระบบสุขภาพอำเภอจึงเป็นมุมมองสุขภาพในมุมกว้าง และเน้นการทำงานร่วมกัน ทั้งภาคีในเครือข่าย และนอกเครือข่ายสาธารณสุข

เป้าหมายในการดำเนินงาน DHS ๑.ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น สามารถพึ่งตนเองและดูแลสุขภาพตนเองได้ดีเพิ่มมากขึ้น ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ๒.สถานะสุขภาพ (health status) ของประชาชนในอำเภอดีขึ้น สามารถจัดการปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และมีศักยภาพพอที่จะเผชิญกับปัญหาสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป

เป้าหมายในการดำเนินงาน DHS ๓.เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการสุขภาพที่เข้มแข็ง มีพลังในการขับเคลื่อนการสร้างสุขภาวะในอำเภอและพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น ๔.ทำให้การบริการสุขภาพมีคุณภาพ ได้มาตรฐานผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ผู้ให้บริการมีความสุขในการทำงาน

ตัวชี้วัด

คุณภาพคือ 1. มีระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น ตามองค์ประกอบ UCARE และมีผลลัพธ์การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกขั้น หรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทางการพัฒนา DHS – PCA 2. มีการบูรณาการ แผนการจัดการบริการ 10 เรื่อง คือ (1) โรคเรื้อรัง (2) ฟื้นฟูสภาพ 3) พัฒนาการเด็ก 4) ทันตสาธารณสุข 5) การแพทย์แผนไทย 6 สุขภาพจิต 7 อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน และส่งต่อ (เน้น FR) 8 Long Term Care 9 Palliative Care 10 ปัญหาของพื้นที่

คุณภาพคือ 3. มีการจัดการให้มีการดูแลสุขภาพร่วมกัน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทั้ง Acute & Chronic care ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง (essential care เช่น อุบัติเหตุฉุกเฉินและส่งต่อ การเยี่ยมบ้าน Home care & LTC บริการแพทย์แผนไทย สุขภาพจิตชุมชน การฟื้นฟูสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เป็นต้น) 4. มีระบบบริหารจัดการ การแก้ปัญหาสุขภาพระดับพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วน

การขับเคลื่อนการดำเนินงาน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) ระดับจังหวัด : 1. มีการทบทวนคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปฐมภูมิจังหวัดและมีการประชุมวางแผนยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติการ 2, ติดตามความก้าวหน้า ในการประชุม กวป. 3. พัฒนาศักยภาพทีมเครือข่าย/รพ.สต ในการประเมิน DHS-PCA (5 มี.ค. 2558) 4. นิเทศ ติดตาม DHS/FCT (เดือน เม.ย. 2558) 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ DHS/FCT ( เดือน มิ.ย 2558)

การขับเคลื่อนการดำเนินงาน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) 1. มีการแต่งตั้ง /ทบทวนคำสั่งคณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ 2. กำหนดปัญหาที่สำคัญของพื้นที่และแก้ไขปัญหาร่วมกันกับภาคีเครือข่าย อย่างน้อย 3 เรื่องและมีการวางแผนยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติการ 3. บูรณาการ แผนการจัดบริการในระดับปฐมภูมิ Core package 10 เรื่อง 4. ประเมินตนเองตามแนวทาง DHS-PCAและประเมินความต้องการ ความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ ตามกลุ่มเป้าหมาย 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / นำเสนอ Good Practice ในระดับเครือข่าย /ตำบล 6. พัฒนาศักยภาพของบุคลากร เรียนรู้ในสิ่งที่ทำ 7. นิเทศติดตามการดำเนินงาน

สวัสดี