งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

2 อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ข้อมูลทั่วไป อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

3 เลื่องลือเกาะล้าน ตำนานทัพพระยา ล้ำค่าวัดญาณฯ
คำขวัญ ประจำอำเภอ ชายหาดงามตา เมืองพัทยาขึ้นชื่อ เลื่องลือเกาะล้าน ตำนานทัพพระยา ล้ำค่าวัดญาณฯ

4 ที่ตั้งและอาณาเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ จังหวัดชลบุรี พื้นที่ 727 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอำเภอเมืองชลบุรีไปทางทิศใต้ 45 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพ 142 กิโลเมตร ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอศรีราชา ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอสัตหีบ ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดระยอง ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ่าวไทย

5 อำเภอบางละมุงแบ่งเขตการปกครองเป็น 8 ตำบล 61 หมู่บ้าน 42 ชุมชน
14 หมู่บ้าน 42 หมู่บ้าน 5 หมู่บ้าน. 1 เมืองพัทยา 1 เทศบาลเมือง(หนองปรือ) 5 เทศบาลตำบล 1 อบต.(เขาไม้แก้ว) ทต.บางละมุง,ทต.ตะเคียนเตี้ย,ทต.หนองปลาไหล,ทต.โป่ง,ทต.ห้วยใหญ่

6 แผนที่อำเภอบางละมุง N ทน.แหลมฉบัง บางละมุง ตะเคียนเตี้ย หนองปลาไหล
11,324 ทน.แหลมฉบัง 10,894 N อ.ศรีราชา 19,216 บางละมุง ตะเคียนเตี้ย Type Area1,3=240,390 คน (ร้อยละ 84.71) 16,372 หนองปลาไหล อ่าวไทย 70,594 จ.ระยอง สสอ.บางละมุง โป่ง 8,857 ต.เขาไม้แก้ว เกาะล้าน รพ.บางละมุง หนองปรือ 6,163 เมืองพัทยา ต.ห้วยใหญ่ 26,696 อ่าวไทย 283,783 คน 113,667 อ.สัตหีบ รพ.วัดญาณฯ ที่มา : ประชากรทะเบียนราษฎร์ ธันวาคม 2557สำนักบริหารงานทะเบียน

7 ร้อยละของประชากรจำแนกรายเพศและพื้นที่
46.41 53.59

8

9 อาชีพที่สำคัญ ภาคเกษตรกรรม (ปลูกพืช ประมง)
ภาคอุตสาหกรรม (ผลิตสินค้า อาหาร การก่อสร้าง) ภาคบริการ (โรงแรมและการท่องเที่ยว ห้างสรรพสินค้า ธนาคาร สถานเริงรมย์ การค้าขาย งานบริการ)

10 ทรัพยากรสาธารณสุข ภาคเอกชน - รพ.เอกชน 3 แห่ง
สถานบริการภาครัฐในสังกัด 15 แห่ง สถานบริการภาคเอกชน/นอกสังกัด 12 แห่ง รพช.2 แห่ง (รพ.บางละมุง , รพ.วัดญาณสังวราราม) รพสต. 12 แห่ง ศสม. 1 แห่ง ภาคเอกชน - รพ.เอกชน 3 แห่ง - คลินิกเวชกรรมมิตรไมตรี 3 แห่ง - คลินิกเวชกรรมเอเชียอินเตอร์ 1 แห่ง ภาคท้องถิ่น รพ.เมืองพัทยา 1 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขเมืองพัทยา 2 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองหนองปรือ 2 แห่ง สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ 901 แห่ง ร้านขายยา 492 แห่ง คลินิก 261 แห่ง สถานที่ผลิตอาหาร/น้ำดื่ม158 แห่ง

11 ศสม.1แห่ง,รพสต.ขนาดใหญ่ 7แห่ง ,ขนาดกลาง 4 แห่ง,ขนาดเล็ก 1 แห่ง
ศักยภาพหน่วยบริการ รพ.บางละมุง(S:120 เตียง) รพ.วัดญาณฯ(F1:30เตียง) ศสม.1แห่ง,รพสต.ขนาดใหญ่ 7แห่ง ,ขนาดกลาง 4 แห่ง,ขนาดเล็ก 1 แห่ง ชุมชน ท้องถิ่น สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ รพ.กรุงเทพพัทยา(300เตียง)-รพ.พัทยาอินเตอร์(52เตียง)-รพ.พัทยาเมโมเรียล(50เตียง) CUP เมืองพัทยา(110เตียง) , CUP มิตรไมตรีคลินิก , CUP เอเซียอินเตอร์คลินิก

12 ทรัพยากรสาธารณสุข แพทย์ 44 คน ทันตแพทย์ 18 คน เภสัชกร 21 คน
บุคลากรภาครัฐในสังกัด แพทย์ 44 คน ทันตแพทย์ 18 คน เภสัชกร 21 คน พยาบาลวิชาชีพ 251 คน บุคลากรภาคเอกชน/นอกสังกัด แพทย์ 172 คน ทันตแพทย์ 30 คน เภสัชกร 24 คน พยาบาลวิชาชีพ 393 คน

13 สถานการ์ณผู้สูงอายุ ชาย หญิง รวม อายุ 50- 59 5786 7083 13468
อายุ 6408 8763 15171 อายุ 2673 3641 6314 อายุ 80 ปีขึ้นไป 1125 1664 2789

14 สถานการ์ณผู้สูงอายุ แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุ
ตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน ชาย หญิง รวม กลุ่มที่ 1 ช่วยเหลือตนเองได้ช่วยเหลือผู้อื่น สังคมและชุมชนได้ (ติดสังคม) 6284 13837 20121 กลุ่มที่ 2 ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (ติดบ้าน) 68 113 181 กลุ่มที่ 3 ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ ทุพพลภาพ (ติดเตียง) 54 118 172 10206 14068 24274

15 การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
GOAL มีระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และผู้สูงอายุที่ต้องการพึ่งพิง (long Term care) STRATEGY พัฒนาระบบบริการดูแลรักษาสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนามาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ( FCT ) และมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน Objective ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสุขภาพเพื่อเข้าสู่ระบบการดูแลได้อย่างตรงประเด็นปัญหา” ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ประเมินสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ 3 ด้าน อย่างน้อยร้อยละ 60 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ร้อยละ 100 ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน เป้าหมาย กระบวนงาน DHS การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน การทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการ และตัวผู้ให้บริการเอง การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น 1.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ DHS พร้อมกำหนดบทบาทชัดเจน ทีมงานDHS ทำงานตามหน้าที่ที่รับมอบหมาย พัฒนา บุคลากรตามความต้องการของบุคคลหน่วยงาน (Training Need) รวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพพื้นที่ ชุมชนและเครือข่ายDHS มีส่วนร่วมในการplanทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 2.1 พัฒนาระบบการคัดกรองสุขภาพ - สมรรถนะ :ADL/ LTC - โรคหรือปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย : DM/ HT/ ฟัน/สายตา/ Stroke - กลุ่มอาการผู้สูงอายุ (Geriatric Syndromes : Fall/ OA/ Depress/ Dementia/ Incontinence 2.2 จัดการสวล.ในชุมชน บ้าน 2.3 การจัดการและแก้ไขปัญหา การส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มติดสังคม การดูแลกลุ่มติดบ้าน+ติดเตียง โดยทีม FCT + อปท.+เครือข่ายในชุมชน 3.1 บุคคลอื่น/ผู้รับบริการเห็นคุณค่า และชื่นชมเจ้าหน้าที่และทีมงาน มีการวิเคราะห์ข้อมูลและนำไปใช้การแก้ไขปัญหาพื้นที่ 3.3 แผนพัฒนาบุคลากรเน้นองค์ความรู้ ทักษะ การอบรมcaremanager ,care giver เจ้าหน้าที่และทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 4.1พัฒนาศักยภาพและทักษะภาคี เครือข่าย คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ มีการพัฒนา,แก้ไขปัญหา และดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน( Essential care ) 4.5ชุมชนและเครือข่ายDHS มีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชนร่วมกันและมีการดำเนินงานที่เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม ชุมชนและเครือข่ายDHS องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( อปท.)มีการสนับสนุนและบูรณาการงบประมาณ ( Resource sharing ) 5.1 สนับสนุนท้องถิ่นในการจัดสวล. 5.2. พัฒนาระบบบริการดูแลรักษาสุขภาพผู้สูงอายุ 5.3 การเยี่ยมบ้าน/ ให้บริการการแพทย์แผนไทย/ สุขภาพจิต 5.4 พัฒนามาตรฐาน Care manager / Care giver / FCT Small Success การกำกับติดตาม 3 เดือน การกำกับติดตาม 6 เดือน การกำกับติดตาม 9 เดือน การกำกับติดตาม 12 เดือน ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพไม่น้อยกว่า 60% มีหน่วยบริการสุขภาพผู้สูงอายุใน ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 40% การเข้าถึงบริการ LTC และผู้สูงอายุกลุ่ม 3 เป็น 2 หรือ 1 ใน ตำบลต้นแบบระบบการดูแลระยะยาวในชุมชน พื้นที่เริ่มดำเนินการคัดกรองสุขภาพ เริ่มพัฒนาหน่วยบริการสุขภาพผู้สูงอายุ การให้บริการด้านสุขภาพจิตที่คลินิก NCD,คลินิกผู้สูงอายุ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาทักษะกาย ใจร้อยละ 50 การดำเนินงาน DHS/ตำบลดูแลผู้สูงอายุระยาว คัดกรองสมรรถนะ(ADL)= 100%, คัดกรอง/ประเมินGeriatric syndromes และ Health problem = 60% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาทักษะกาย ใจร้อยละ 60 สรุป/วิเคราะห์/จำแนกสถานะสุขภาพผู้สูงอายุจากการคัดกรองสมรรถนะ, Geriatric Syndromes, Health Problem ข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาทักษะกาย ใจร้อยละ 70 การเข้าถึงบริการ LTC ของผู้สูงอายุใน ตำบลดูแลผู้สูงอายุระยาว ได้สถานะสุขภาพผู้สูงอายุจากการคัดกรองสุขภาพ (กลุ่ม 1/ 2/3 ที่จำแนกปัญหาสุขภาพเป็น ปกติ/เสี่ยง/ป่วย) ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพเสี่ยงได้รับการพัฒนาทักษะกาย ใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาทักษะกาย ใจร้อยละ 80 การเข้าถึงบริการ และ สัดส่วนของของผุ้สูงอายุจากกลุ่ม 3 เป็นกลุ่ม 2/1 DHS/ตำบลดูแลผู้สูงอายุระยาว

16 กลวิธีการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC)

17 การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ
1.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ DHS พร้อมกำหนดบทบาทชัดเจน 1.2 ทีมงานDHS ทำงานตามหน้าที่ที่รับมอบหมาย

18

19 ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ
ปีงบประมาณ 2558 หนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบทโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน One District One Project  (ODOP) ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ

20 ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ
Essential care (10) ODOP Service plan ผู้สูงอายุ NCD การควบคุมโรค งานส่งเสริมสุขภาพ ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน สุขภาพฟัน สุขภาพจิต ผู้พิการ กลุ่มวัย ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้สูงอายุ - DM,HT - ตา - ไต - ประเมินADL ประเมินภาวะซึมเศร้า(2Q) - หลอดเลือดสมอง(เฉพาะNCD) สมองเสื่อม(เฉพาะNCD) ข้อเข่าเสื่อม ภาวะไขมันในเลือดสูง มะเร็งเต้านม ตรวจสุขภาพฟัน พิการ1การมองเห็น2การได้ยินหรือสื่อความหมาย3การเคลื่อนไหว4จิตใจหรือพฤติกรรม 5สติปัญญา 6การเรียนรู้ 7ออทิสติก

21 แบบเก็บผลการดำเนินงาน

22 พัฒนาบุคลากร

23 Palliative care

24 ไต

25 การดูแลผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก/ครึ่งท่อน
นางสาวสุทธาทิพย์ ยิ่งดิลกพันธกุล นักกายภาพบำบัด รพ. บางละมุง

26 แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว รพ. บางละมุง
ความรู้เรื่องยา พญ.วิไล ยุวพรพาณิชย์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว รพ. บางละมุง ไต

27 การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ
พัฒนา บุคลากรตามความต้องการของบุคคลหน่วยงาน

28 การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ
พัฒนา อบรม CARE GIVER

29 การคัดกรองภาวะสุขภาพ ADL DM/ HT/ ฟัน/สายตา/ Stroke
- กลุ่มอาการผู้สูงอายุ (Geriatric Syndromes : Fall/ OA/ Depress/ Dementia/ Incontinence สำรวจ ค้นหาผู้สูงอายุ จัดทำทะเบียนตามกลุ่มผู้สูงอายุ ตามประเภท

30 การคัดกรองภาวะสุขภาพ ADL DM/ HT/ ฟัน/สายตา/ Stroke
- กลุ่มอาการผู้สูงอายุ (Geriatric Syndromes : Fall/ OA/ Depress/ Dementia/ Incontinence สำรวจ ค้นหาผู้สูงอายุ จัดทำทะเบียนตามกลุ่มผู้สูงอายุ ตามประเภท

31 บริการทันตกรรม......ด้วยใจ.....
การคัดกรองภาวะสุขภาพอทันตกรรม / ฟัน บริการทันตกรรม......ด้วยใจ.....

32 การคัดกรองภาวะสุขภาพอทันตกรรม / ฟัน

33 ตรวจสุขภาพประจำปี

34 ฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ประจำปี

35 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มที่ 1
ช่วยเหลือตนเองได้ช่วยเหลือผู้อื่น สังคมและชุมชนได้ (ติดสังคม) *กิจกรรรมการให้บริการ การคัดกรองสุขภาพ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 3 อ.(ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์) กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อพัฒนา กิจกรรมจิตอาสา นันทนาการและอื่นๆ

36 ประชุมประจำเดือนเพื่อพบปะรับรู้ข่าวสารและทำกิจกรรมร่วมกัน

37 กิจกรรมออกกำลังกาย ออกกำลังกายก่อนประชุมทุกครั้ง ออกกำลังกายในหมู่บ้าน

38 ออกกำลังกายตามวัยร่วมกันก่อนเข้าร่วมประชุมเพื่อให้ร่างกายกระปี้ประเป่า

39 ได้รับการตรวจสุภาพทั่วไปโดย อสม
ได้รับการตรวจสุภาพทั่วไปโดย อสม.และอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ก่อนเข้าห้องประชุม

40 กิจกรรมเข้าพรรษาและสวดมนต์ก่อนเข้าร่วมประชุม

41 สรงน้ำพระและรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุเองในวันสงกรานต์

42 กิจกรรมสงเคราะห์ด้านการเงินและสิ่งของ

43 มีวิทยากรให้ความรู้ด้านสุขภาพ

44 เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลบางละมุงให้ความรู้เกี่ยวกับฟันและสุขภาพช่องปาก

45 กิจกรรมกีฬาผู้สูงอายุในวันผู้สูงอายุเพื่อความสามัคคีในชมรม และสืบสานการละเล่นแบบไทยให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้

46 แข่งขันกีฬาเปตองผู้สูงอายุประจำปี ที่ หน้าอำเภอบางละมุง เป็นกิจกรรมเพื่อความสามัคคีในชมรมผู้สูงอายุอำเภอบางละมุง และเป็นการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน

47 กิจกรรมนันทนาการโดยคณะ กศน. อำเภอบางละมุง

48 กิจกรรมนันทนาการโดยคณะ กศน. อำเภอบางละมุง

49 เข้าร่วมการประกวดสาว(เหลือ)น้อยที่ ศาลากลางจังหวัดชลบุรี

50 โครงการปฏิบัติธรรมรักษาศีลเจริญจิตภาวนาสัญจร 2 วัน 1 คืน โดยงบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ

51 กิจกรรมร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โครงการสานรักเป็นการส่งเสริมภูมิปัญญาให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้

52 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและมอบของใช้จำเป็น ร่วมกับ อสม
เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและมอบของใช้จำเป็น ร่วมกับ อสม. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และ อบต.

53 แกะสลักลูกมะพร้าวตามราศีตามทรัพยากรที่มีมากในชุมชน

54 สับปะรดกวนโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรจากชุมชน

55 ทำน้ำพริกจากภูมิปัญญาดั้งเดิม

56 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มที่ 2ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (ติดบ้าน)
*กิจกรรรมการให้บริการ *ตรวจสุขภาพประจำปี *กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเฉพาะโรค *Home visit / Home Health Care *สนับสนุนการมีส่วนร่วม ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน

57 *ประเมินพฤติกรรมสุขภาพและตรวจสุขภาพประจำปี
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มที่ 3 ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ ทุพพลภาพ (ติดเตียง) *ประเมินพฤติกรรมสุขภาพและตรวจสุขภาพประจำปี *พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลในระดับต่างๆ *Home visit / Home Health Care *สถานฟื้นฟูสภาพ/สถานบริบาล โดยชุมชนเป็นฐาน

58 กิจกรรม Care giver

59 เรื่องเล่า Case 1 Case อายุ 58 ปี Hx cadiac arrest ที่บ้าน ทำ CPR นำส่ง รพ. หลัง D/C จากรพ. ptใส่ ท่อหายใจ และใส่สายให้อาหาร เรียกหันตามเสียง ล้างไตสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ทีม FCT พร้อมอปท. Conference case ที่บ้าน pt การช่วยเหลือ 1.ประสานหาเตียงให้ผู้ป่วย 2.ฝึกญาติดูแลผู้ป่วยที่ใส่ท่อหายใจและการให้อาหารทางสาย 3.การพลิกตะแคงตัวป้องกันแผลกดทับ 3 เดือนต่อมา pt off ท่อหายใจ สายให้อาหาร ทานอาหารโดยให้ญาติป้อน 6 เดือนต่อมา pt สามารถเดินได้ ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง

60 เรื่องเล่า CASE 2

61 เครือข่าย พระภิกษุ

62 เครือข่าย พัฒนาสังคมและมนุษย์

63 ภาคีเครือข่าย ชมรมอสม.อำเภอบางละมุงจัดกิจกรรมปั่นจักรยานนำเงินรายได้มอบให้ผู้ป่วยติดเตียงในพื้นที่อำเภอบางละมุง

64 เครือข่าย เอกชน

65 เจ้าอาวาสวัดประชุมคงคา รับโล่รางวัล “วัดส่งเสริมสุขภาพ”
เจ้าอาวาสวัดประชุมคงคา รับโล่รางวัล “วัดส่งเสริมสุขภาพ”

66 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google