งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
เสนอโดยรองอธิบดีกรมอนามัย (นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์) กองแผนงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 18 พฤษภาคม 2559

2 ประเด็นการนำเสนอ สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามแผนปฏิบัติการ
สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ มติสำคัญที่กำหนดเป็นนโยบายจากการประชุมกรมอนามัย

3 สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามแผนปฏิบัติการ
กรอบการจัดทำแผนการดำเนินงาน นโยบายรัฐบาล นโยบายกรม นโยบายกระทรวง แผนปฏิบัติการกรม เป้าหมายงบประมาณ แผนบูรณาการ ตัวชี้วัด PA โครงการสำคัญ โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ โครงการเร่งด่วนตามนโยบายรัฐบาล โครงการเร่งด่วนตามนโยบายกระทรวง โครงการเร่งด่วนตามนโยบาย/การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดกรม ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน รายเดือน/รายไตรมาส

4 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - ใส่ฟันเทียม 24,663 คน คิดเป็นร้อยละ 61.6 ของเป้าหมาย - รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 30.7 - ใส่ฟันเทียม 40,000 คน - รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 54 ฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติ ผลการดำเนินงานฟันเทียมพระราชทาน ปี ผลการดำเนินงาน รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก ปี หมายเหตุ : ปี ประเมินเชิงปริมาณ ปี 2559 ประเมินเชิงคุณภาพ ที่มา : ระบบรายงาน HDC และรายงานจังหวัด ที่มา : website โครงการฟันเทียมพระราชทานฯ

5 ผลการดำเนินงาน (แห่ง)
โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรครูและฝ่ายสาธารณสุข - สนับสนุนการดำเนินงานโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารต้นแบบ - โรงเรียนในถิ่นทุรกันดารต้นแบบด้านสุขภาพ ๒๒ แห่ง -อยู่ระหว่างการระดมทุน เพื่อสร้างและปรับปรุงส้วมในโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารในพื้นที่เป้าหมาย 39 แห่ง - สร้างและปรับปรุงส้วมใน รร.ถิ่นทุรกันดาร 39 แห่ง สุขภาพเด็ก/เยาวชน ในถิ่นทุรกันดาร สุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ผลการดำเนินงานสุขอนามัย ปี ปี พ.ศ. ผลการดำเนินงาน (แห่ง) 2557 28 2558 53 รวม 81 หมายเหตุ : เริ่มดำเนินการโครงการปี 2557

6 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - พัฒนาศักยภาพชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน - สนับสนุนชุดทดสอบไอโอดเดทในเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน - ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๐ - ความครอบคลุมการใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนในครัวเรือน มากกว่าร้อยละ 90 ควบคุม/ป้องกัน การขาดสารไอโอดีน ผลการดำเนินงานความครอบคลุมเกลือบริโภคฯ ปี ผลการดำเนินงานชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ปี 2558 มีชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนผ่านเกณฑ์การประเมินรับรอง ร้อยละ 81.2 ที่มา : การสุ่มสำรวจโดยสำนักโภชนาการ

7 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการเร่งด่วนตามนโยบายรัฐบาล ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - ขณะนี้อยู่ในขั้นการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2559 - พรบ. Code Milk - พรบ.การป้องกัน/แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น - พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขโดยจัดอบรมครู ก - ตรวจคัดกรองสายตานักเรียนชั้น ป. 1 จำนวน 300,412 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 ของนักเรียน ป. 1 ทั้งหมด ผิดปกติ 4,973 คน (ร้อยละ 1.7 ของเด็กที่คัดกรอง) และได้รับแว่นสายตา จำนวน 3,744 คน (ร้อยละ 75.3 ของเด็กที่สายตาผิดปกติ) - เด็กนักเรียนชั้น ป. 1 ใน ได้รับการตรวจคัดกรองสายตาและได้รับการแก้ไขภาวะสายตาผิดปกติ การขับเคลื่อนกฎหมาย เด็กไทยสายตาดี

8 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการเร่งด่วนตามนโยบายกระทรวง ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - ขับเคลื่อน พรบ.การป้องกัน/แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น - อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 47.9 - โรงพยาบาล YFHS ฉบับบูรณาการ ร้อยละ 68.5 - อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน - โรงพยาบาล YFHS ฉบับบูรณาการ ร้อยละ 75 การป้องกัน/แก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น ผลการดำเนินงาน อัตราการคลอดมีชีพ ปี ผลการดำเนินงาน รพ.สป.ผ่านเกณฑ์ YFHS ปี ที่มา : ฐานข้อมูลการเกิดจากทะเบียนราษฎร์ ที่มา : รายงานศูนย์อนามัย

9 ครอบคลุมผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน/ติดเตียง (คน)
โครงการเร่งด่วนตามนโยบายกระทรวง ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - จัดทำคู่มือระบบการดูแลระยะยาว - ประชุมขับเคลื่อน 4 ภาค รวม 5,367 คน - ตำบลต้นแบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 27 - อบรม Care Manager 945 คน (หลักสูตร 70 ชั่วโมง) - อบรม Care Giver 5,117 คน - เยี่ยมประเมินคัดกรองดูแลผู้สูงอายุในชุมชนกลุ่มติดบ้าน 161,996 คน กลุ่มติดเตียง 29,355 คน - ตำบลต้นแบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 - มี Care Manager 2,500 คน - มี Care giver ผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า 10,000 คน โครงการพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ผลการดำเนินงานตำบล LTC ปี ที่มา : รายงานศูนย์อนามัย ประเภท ผลงาน (คน) ครอบคลุมผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน/ติดเตียง (คน) Care Manager 975 34,125 Care Giver 5,079 35,553 ผลการดำเนินงานอบรม CM/CG ปี 2558

10 โครงการเร่งด่วนตามนโยบาย/การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดกรม
การพัฒนาสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - พัฒนาระบบบริหารจัดการความเสี่ยงในพื้นที่/คุณภาพห้องคลอด และส่งเสริมการฝากท้องเร็ว - พัฒนาศักยภาพผู้ประเมินพัฒนาการเด็กด้วยเครื่องมือDSPM/DAIM - อัตราส่วนการตายมารดา 29.8 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน - เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90.8 - จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังการตายมารดาจากการตั้งครรภ์ ร้อยละ 59.2 - จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตฯ ร้อยละ 56.6 - อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน - เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 - จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังการตายมารดาจากการตั้งครรภ์ ร้อยละ 40 - จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตฯ ร้อยละ 40 ผลการดำเนินงานอัตราส่วนการตายมารดา ปี ที่มา : ปี 2556 กรมอนามัย, ปี WHO ผลการดำเนินงานเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ปี ร้อยละ ที่มา : ปี 2556 เป็นข้อมูล ปี 2553 Denver II, ปี 2557 Denver II, ปี 2558 เครื่องมือ DSPM

11 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการเร่งด่วนตามนโยบาย/การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดกรม ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - จัดประชุม Smart Kids Coacher รายภาค - เด็กนักเรียนมาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 11.2 - เด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 การแก้ไขภาวะอ้วนในเด็กวัยเรียน ผลการดำเนินงาน ปี ความชุกของปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่มา : ระบบรายงาน HDC ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ

12 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการเร่งด่วนตามนโยบาย/การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดกรม ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาDPAC Quality - DPAC Quality ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 12 แห่ง - DPAC Quality ของสถานบริการสาธารณสุขระดับ รพศ. รพท. รพช. จำนวน 160 แห่ง คลินิก DPAC Quality ผลการดำเนินงาน DPAC ปี หมายเหตุ : ปี ประเมินเชิงปริมาณ (DPAC) 2) ปี 2558 ประเมินเชิงคุณภาพ (DPAC Quality) ซึ่งมี รพ.ส่งเสริมสุขภาพในสังกัดกรมอนามัยผ่านเกณฑ์ DPAC Quality จำนวน 9 แห่ง ที่มา : รายงานศูนย์อนามัย

13 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการเร่งด่วนตามนโยบาย/การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดกรม ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - ผลักดันให้มีการใช้ระบบควบคุมกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ (Manifest System) - จัดทำประกาศกระทรวงฯ กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขว่าด้วยการขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อในท้องที่ อปท - รพ.สังกัด สป. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ร้อยละ 84.5 - รพ.สังกัด สป. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ร้อยละ 84 การจัดการ มูลฝอยติดชื้อ ผลการดำเนินงาน ปี ที่มา : รายงานศูนย์อนามัย

14 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการเร่งด่วนตามนโยบาย/การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดกรม ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - MOU กับหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/ภาคเอกชน/สถานประกอบการอุตสาหกรรม/ สถาบันการศึกษา - การเสริมสร้างองค์กรต้นแบบเลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารฯ (Road Show) 4 ภาค - ร้านอาหารใน สสจ./รพศ./รพท./รพช. เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ร้อยละ 60 - มีหน่วยงาน/องค์กร ต้นแบบ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 50 แห่ง การลด ละ เลิกใช้ ภาชนะ โฟมบรรจุอาหาร ผลการดำเนินงาน ปี 2558 มีหน่วยงานที่เลิกใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 100% จำนวน 130 แห่ง จาก 9,492 แห่ง

15 ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
โครงการเร่งด่วนตามนโยบาย/การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดกรม ผลงาน 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน - ครม. มีมติอนุมัติหลักการร่าง พรบ. การสาธารณสุข (ฉบับที่..) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา - พรบ. การสาธารณสุข (ฉบับที่..) ลำดับต่อไปเสนอให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา การปรับปรุง พรบ. การสาธารณสุข (ฉบับที่..) พ.ศ. …. ประเด็นที่แก้ไข/เพิ่มเติม การแก้ไขการใช้อำนาจของอธิบดีกรมอนามัย การเพิ่มเติมให้มีคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด การเพิ่มเติมให้มีการกำหนดพื้นที่ควบคุมเหตุรำคาญ การแก้ไขอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานสาธารณสุข การแก้ไขหลักเกณฑ์การอนุญาตให้ดำเนินกิจการ การเพิ่มเติมให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ การแก้ไขเพิ่มเติมบทกำหนดโทษ การแก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี

16 สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2559 กรมอนามัย ตัวชี้วัดตามภารกิจหลัก/ แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ความพึงพอใจของผู้รับบริการ กระบวนงานตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวก (กรมอนามัยไม่มีตัวชี้วัดนี้) การประเมิน ประสิทธิผล (ร้อยละ 75) การประเมิน คุณภาพ (ร้อยละ -) การประเมิน ประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 10) เบิกจ่ายงบประมาณ ประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ำ ระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาสมรรถนะองค์การ ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน

17 สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
มิติประสิทธิผล ตัวชี้วัด เป้าหมาย 5 ระดับ ผลงาน คะแนน 1.1 ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงและนโยบายสำคัญ 1.1.1 อัตราส่วนการตาย มารดาต่อการเกิดมีชีพ แสนคน 29.8 1.1.2 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปีมี พัฒนาการสมวัย 90.83 1.1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 0- 5 ปี สูงดีสมส่วน 47.60 1.1.4 ร้อยละของเด็กนักเรียนมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน 11.24 1.1.5 อัตราการคลอดมีชีพใน หญิง อายุ ปี 47.9

18 สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย 5 ระดับ ผลงาน คะแนน ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์และการคลอด 59.2 ตัวชี้วัด 1.3 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี 56.6 ตัวชี้วัด 1.4 ร้อยละของตำบลที่มีระบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ 27 ตัวชี้วัด 1.5 ร้อยละของ รพ.สังกัด ก.สธ. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 84.05 ตัวชี้วัด 1.6 ร้อยละของ รพ.สังกัด สป. ที่ผ่านเกณฑ์ สถานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS ) 68.54 ตัวชี้วัด 1.7 ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ 5 กลุ่มเป้าหมาย 30.7

19 สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
มิติมิติประสิทธิภาพ และพัฒนาองค์การ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 5 ระดับ ผลงาน คะแนน ตัวชี้วัด 3 ร้อยละการเบิกงบประมาณ 3.1 การเบิกจ่ายงบลงทุน < >40 42.38 3.2 การเบิกจ่ายงบรายจ่ายภาพรวม < >52 46.67 ตัวชี้วัด 4 การประหยัดพลังงาน ระดับ ระดับ 5 ตัวชี้วัด 5 การประหยัดน้ำ ระดับ ตัวชี้วัด 6 การพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศภาครัฐ ระดับ ตัวชี้วัด 7 การพัฒนาสมรรถนะองค์การ ระดับ N/A ตัวชี้วัด 8 ระดับคุณธรรมและ ความโปร่งใสการดำเนินงาน

20 การประเมินประสิทธิผล การประเมินประสิทธิภาพ
สรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 75) 3.35 คะแนน ภาพรวม 3.25 คะแนน การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 4.24 คะแนน การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 10) 1.0 คะแนน

21 มติที่สำคัญที่กำหนดเป็นนโยบายจากการประชุมกรมอนามัย
การเบิกจ่ายงบประมาณ - ทุกหน่วยงานเร่งรัดการเบิกจ่ายตามมาตรการ/เป้าหมายที่กำหนด เป้าหมายเบิกจ่าย ณ 30 เมษายน 59% เบิกจ่ายจริง 53.82%

22 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2559 รายงบ ณ 30 เมษายน 2559
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ รายงบ ณ 30 เมษายน 2559

23 ระยะเวลาที่แจ้งจัดสรร
งบรายจ่ายที่มีการเบิกจ่ายล่าช้าปี 2559 งบลงทุน : รายการที่ดิน สิ่งก่อสร้าง จำนวน 2 รายการ เนื่องจากขาดความพร้อม ในเรื่องการดำเนินงาน เช่น แบบแปลน งบดำเนินงาน : รายการนมผง ผลการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผน เนื่องจากมีกระบวนการล่าช้า และมีวงเงินงบประมาณจำนวนที่สูง มาตรการการเบิกจ่ายงบประมาณปี 2560 กำหนดแนวทางเร่งรัดการเบิกจ่ายและกำกับติดตามอย่างเคร่งครัด ให้ทุกหน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบลงทุนเริ่มกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อให้สามารถลงนามสัญญาได้ในวันที่ 1 ตุลาคม 2560 และเร่งรัดบริหารสัญญาจ้างให้เป็นไปตามกำหนดเวลา งบดำเนินงาน : เร่งรัดกระบวนการจัดซื้อจัดหานมผงให้สามารถเบิกจ่ายในไตรมาสที่ 1 หรืออย่างช้าสุดในไตรมาสที่ 2 ระยะเวลาแจ้งการจัดสรรเงินให้หน่วยงาน ปี ปีงบประมาณ ระยะเวลาที่แจ้งจัดสรร 2557 ตุลาคม 2556 2558 กันยายน 2557 2559 ธันวาคม 2558

24 มติที่สำคัญที่กำหนดเป็นนโยบายจากการประชุมกรมอนามัย
จัดทำบทสรุปผู้บริหาร 1 หน้า ประกอบด้วย สิ่งที่ได้จากการประชุม ข้อดีเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทย และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การประชุม/อบรม/สัมมนา ณ ต่างประเทศ ประชุม/สัมมนา/ฝึกอบรม รวม 43 ครั้ง ส่งรายงานสรุป 14 ครั้ง ผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนองค์กรคุณธรรม ใช้วัฒนธรรม HEALTH เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน อย่างน้อยหน่วยงานละ 3 เรื่อง บังคับ 1 เรื่อง คือ E (Ethics) ผลการดำเนินงาน H : Health E : Ethics A : Achievement L : Learning T : Trust H : Harmony 23 บังคับ 4 24 2 8 หมายเหตุ : มีหน่วยงานที่ยังไม่ส่งข้อมูล จำนวน 6 หน่วยงาน ที่มา : กองการเจ้าหน้าที่

25 มติที่สำคัญที่กำหนดเป็นนโยบายจากการประชุมกรมอนามัย
จัดผู้เข้าร่วมประชุม 3 รุ่น คือ รุ่นเก่า (เคยไป 2-3 ครั้ง) รุ่นกลาง (เคยไป 1 ครั้ง) และรุ่นใหม่ Young Blood (ไม่เคยไป) การคัดเลือก ผู้เข้าร่วมประชุม WHA ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 รองอธิบดีกรมอนามัย (นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์) นายแพทย์ฐิติกร โตโพธิ์ไทย นางณีรนุช อาภาจรัศ นายสินศักดิ์ชนมิ์ อุ่นพรหม

26 มติที่สำคัญที่กำหนดเป็นนโยบายจากการประชุมกรมอนามัย
การบริหาร การเปลี่ยนแปลง ให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนบทบาท จาก คนทำ เป็น คนนำ เปลี่ยนวิธีทำโดยเน้นการบูรณาการและการคร่อมสายงาน

27 Monitoring กรม ไม่ท้อถอย เร่งความเร็ว สำเร็จสู่งานประจำ ลงมือทำ สำเร็จระยะสั้น กำจัดอุปสรรค สื่อสาร ตั้งเป้าหมาย รวมพล ความจำเป็น ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลง ตามกระบวนการ 8 ขั้นตอนของ KOTTER 1. การสร้างความรู้สึกว่าต้องลงมือทำอย่ำงเร่งด่วน (Establishing a Sense of Urgency) ด้วยการประเมินสถานการณ์ ชี้ให้เห็นถึงวิกฤตการ และโอกาสหรือช่องทางในการพัฒนาให้ผ่านพ้นภาวะวิกฤต เดิม ใหม่ บุคลากรรับรู้ว่าสถานการณ์เปลี่ยนแต่ขาดการนำที่ชัดเจน อธิบดีวิเคราะห์สถานการณ์ภายใน/นอกกรมอนามัย/กระทรวง/สถานการณ์ประเทศ/สถานการณ์โลกและชี้ให้เห็นว่าทำไมต้องเปลี่ยน และกำหนดทิศทาง นโยบายที่ชัดเจน 2. สร้างทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลง ด้วยการกำหนดให้มีกลุ่มทำงานเป็นกองทัพ (volunteer army)และให้มีอำนาจมากพอที่จะนำคนอื่นๆ ในองค์กรไปสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ หัวหน้าหน่วยงาน CCO,CO,ทีมงานchange.กรมอนามัยในทุกหน่วยงาน คณะกรรมการ cluster,คณะกรรมการกลุ่มสนับสนุน,คณะกรรมการ 100 ตำบล 3. พัฒนาวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ (Developing a Vision and Strategy) ด้วยการสร้างวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน อัน นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง รวมทั้งกำหนดกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงที่จะทำให้วิสัยทัศน์นั้นกลายเป็นจริง ทบทวนวิสัยทัศน์​ กำนนดวิสัยทัสน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงด้วย 3 L ทบทวนและจัดทำแผนยุทธสาสตร์โดยคณะกรรมการ ทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์โดยการมีส่วนร่วมของ cluster และคณะกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กำหนดถนนชีวิตผลลัพธ์สุขภาพ5กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. สื่อสารวิสัยทัศน์ของกำรเปลี่ยนแปลง (Communicating the Change Vision) ด้วยการใช้เครื่องมือทุกชนิด เท่ษที่จะเป็นไปได้ ในกษรสื่อสษรวิสัยทัศน์และกลยุทธ์นั้นแก่คนในองค์กรด้วยการชี้นำ และการจำลองสถานกำรณ์ จนคนเริ่มยอมรับวิสัยทัศน์นั้นและเริ่มเปลี่ยนแปลง หนังสือเวียน ประชุมสื่อสารผู้บริหารและประชุมแกนนำ,จัดเวทีสื่อสารทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ประชุม Regular meeting ทุกอังคาร ประชุมสื่อสารผู้บริหารและประชุมแกนนำ กิจกรรม kick off การเปลี่ยนแปลงพร้อมกันทุกหน่วยงานของกรมอนามัยพร้อมกับประกาศเจตนารมณ์ร่วมกัน 5. การให้อำนาจที่จะทำการเปลี่ยนแปลง (Empowering Broad-Based Action) ด้วยการปรับเปลี่ยนระบบ หรือโครงสร้างขององค์กร หรือแม้กระทั่งการกำหนดกิจกรรม หรือวิธีการต่างๆ เพื่อขจัดอุปสรรคหรือความเสี่ยงที่มีต่อวิสัยทัศน์อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ปรับกระบวนงานหลัก (core business process ) จัดทำ DOH for change มอบอำนาจให้ประธาน cluster ในการทำงาน จัดทำblueprint for change และaction plan for change มอบอำนาจให้ ad-hoc ในงานที่ต้องการผลอย่างรวดเร็ว/ต้องการสร้างการมีส่วมข้ามสายงาน 6. สร้างชัยชนะระยะสั้น (Generating Shot-Term Wins) ด้วยการทำให้การเปลี่ยนแปลงปรากฎผลออกมาในรูปของความสำเร็จ หรือชัยชนะ พร้อมกับการให้รางวัลเพื่อสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้น มีblueprint for change และaction plan for changeของ 6 cluster3กลุ่มสนับสนุนและ35ทุกหนวยงาน ประเมินผลงานและยกย่องชมเชย ท้าทายให้เกิด นวตกรรม ทบทวน product และคัดเลือก product champion 7.การรักษาการเปลี่ยนแปลงให้คงอยู่ และสร้างการเปลี่ยนแปลงใหม่ที่ดีกว่ำ (Consolidating Gains and Producing More Change) ด้วยการปรับเปลี่ยนระบบ โครงสร้าง และนโยบายให้สอดคล้องกับแนวทางการเปลี่ยนแปลง การสนับสนุนและพัฒนาบุคลากรที่เป็นกำลังสำคัญในการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการหำช่องทาง หรือแนวคิดใหม่ รวมทั้งการสร้างกลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลงกลุ่มใหม่ๆ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระลอกแล้วระลอกเล่าอย่างไม่ขาดสาย Strong policy and intensive monitoring พัฒนา HR Strategy ( talent ,rotation,shadowing ) 8.รักษาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ให้คงอยู่เป็นวัฒนธรรมขององค์กร (Anchoring New Approaches in the Culture) ด้วยการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรใหม่ ที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการสร้างภาวะการนำ Roadmap for change Empowerment visit เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างชุมชนนักปฏิบัติเรื่อง change กำกับ ขับเคลื่อน วัฒนาธรรม Health เน้นการบริหารในลักษณะของการเป็นผู้นำ (Leadership) มีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงมากกว่ากำรบริหารในลักษณะของการจัดการ (Management) โดยการจัดการ สำมารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง กระตุ้นให้เกิดนวตกรรมอย่างต่อเนื่อง อันจะนำมาซึ่งผลประโยชน์ที่มากกว่า

28 สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
Product champion สตรีและเด็กปฐมวัย สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก วัยเรียน ทบทวน/พัฒนา … Package HPS วัยรุ่น ทบทวน /พัฒนา... วัยทำงาน ทบทวน/พัฒนา HPH & Healthy Work Place 1.สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ 2.หลักสูตร Care Manager สูงอายุ สิ่งแวดล้อม 1 2 3 4 5 6 1. EHA + เสนอ2 รายการเพื่อพิจารณา รวม 874 Product ส่งเสริมสุขภาพ 530 Product อนามัยสิ่งแวดล้อม 241 Product สนับสนุน 103 Product 4 Product Champion

29 NEXT STEP Action for Change : ดำเนินการตามแผน พ.ค. 59 ก.ค.59
Communication Web site / Line group / Facebook Monitoring and Evaluation จัดเวที KM 2 ครั้ง จัดเวที : สรุปบทเรียน และถอดความรู้ จัดทำคู่มือBlueprint for Change กรมอนามัย Action for Change : ดำเนินการตามแผน Small / Final success รายงานผลความก้าวหน้าของ การเปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 2 WS : CCO,CO Capacity Building หัวข้อ “Lean” พ.ค. 59 ก.ค.59 ส.ค. – ก.ย.59 มิ.ย.59 หัวข้อ “Engagement” เยี่ยมเสริมพลัง การเปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 1 การเปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3 Small success

30 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google