งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
2561 2562 2563 2564 2565 แผนพัฒนาบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก 5ปี เขตสุขภาพที่2 พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก

2 สถานการณ์สภาวะทันตสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2
รายการตัวชี้วัดสภาวะทันตสุขภาพ จังหวัด พิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ เขต2 ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 3 ปี มีฟันผุ ปี 2556 58.4 63.2 65.4 50.30 56.8 58.90 ปี 2557 55.6 40.2 60.6 46.68 55.23 ปี 2558 51.1 60.0 45.99 51.37 49.73 ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 12 ปี  52.4 64.6 55.2 48.02 56.2 55.28 52.2 59.8 45.8 46.20 58.9 52.58 50.1 60.4 43.7 45.06 44.9 48.83 ร้อยละของประชากรที่มีฟันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 20 ซี่ 78.6 35.9 45.0 52.34 78.2 39.5 53.4 52.6 47.5 54.24 72.5 50.8 37.9 51.2 50.38

3 DENTAL HEALTH OUTCOME เด็กปฐมวัยและก่อนวัยเรียน ผู้สูงอายุ
ปัญหาโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยและก่อนวัยเรียน อัตราการเกิดฟันผุน้อยกว่าร้อยละ 50 (49.73) กลุ่มวัยเรียน ปัญหาฟันผุในกลุ่มวัยเรียนพบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี มีฟันผุน้อยกว่าร้อยละ 50(48.83) ผู้สูงอายุ ปัญหากลุ่มผู้สูงอายุพบมีฟันใช้งานได้อย่างเหมาะสมอย่างน้อย 20 ซี่ มากกว่าร้อยละ 60(50.38)

4 การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มวัยร้อยละ 30 (ข้อมูลปี 2558 อัตราการเข้าถึงบริการ 18.2/20.9) จังหวัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน (เม.ย59) ร้อยละ service gap อุตรดิตถ์ 366,707 37,271 10.16 72,755 ตาก 475,864 26,274 5.52 116,492 สุโขทัย 453,898 42,007 9.25 94,184 พิษณุโลก 648,480 22,172 3.42 172,366 เพชรบูรณ์ 754,972 48,604 6.44 177,871 รวม 2,699,921 176,328 6.53 633,671

5 การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มวัยร้อยละ 30
จังหวัด เป้าหมาย บริการ p&p บริการทันตกรรมพื้นฐาน บริการทันตกรรม เฉพาะทาง อุตรดิตถ์ 366,707 37,362 6,149 835 ตาก 475,864 26,187 5,883 492 สุโขทัย 453,898 43,998 5,194 572 พิษณุโลก 648,480 18,951 7,424 1,040 เพชรบูรณ์ 754,972 41,582 13,397 840 รวม 2,699,921 168,080 38,047 3,779

6 SERVICE OUTCOME สุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่ม ปัญหาการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มในปี ร้อยละ 30 (18.2) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปัญหาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ ร้อยละ55 (45 อ.ต. )

7 Service delivery and KPI
1.เด็กเล็กอายุ 3 ปี มีความชุกโรคฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 2.เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี มีความชุกโรคฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 3.ผู้สูงอายุมีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม (มีฟันอย่างน้อย 20 ซี่) ร้อยละ 60 4.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพร้อยละ 55 6.การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มวัย ร้อยละ 30 พ.ศ

8 สาขาสุขภาพช่องปาก service delivery สถานการณ์ปัญหา
ตัวชี้วัดสุขภาพ เป้าหมาย 2557 2558 2559 เด็ก 3 ปี มีอัตราการเกิดฟันผุ <50% 55.23 49.73 37.48 1.เด็กในศูนย์เด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ70 2. ทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 50 ของกลุ่มที่มีความเสี่ยงฟันผุ 3.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์เด็กเล็กร้อยละ 95 4.อัตราการเกิดฟันผุในเด็ก 3 ปี ลดลง -ในกลุ่มที่ผ่านเกณฑ์ ต้องลดลงร้อยละ 1 -ในกลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ควรทำให้ได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 50% 5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ 55 %

9 HDC การจัดบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)
ระบบสารสนเทศ (Information system and sharing) กำลังคน ด้านสุขภาพ (Health workforce) การเงินการคลังสาธารณสุข (Financing) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และ เทคโนโลยี การอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance) 1.เด็กในศูนย์เด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ70 2. ทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 50 ของกลุ่มที่มีความเสี่ยงฟันผุ 3.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในศูนย์เด็กเล็ก ร้อยละ 95 4.อัตราการเกิดฟันผุในเด็ก 3 ปี ลดลง -ในกลุ่มที่ผ่านเกณฑ์ ต้องลดลงร้อยละ 1 -ในกลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ควรทำให้ได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 50% โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ 55 % HDC ข้อมูล 43 แฟ้ม ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ ทันตาภิบาล . ผู้ช่วยทันตแพทย์ ทันตแพทย์ทั่วไป ทันตแพทย์เฉพาะทางเด็ก ทันตสาธารณสุข สนับสนุนให้มีการหมุนเวียนให้บริการทันตกรรมใน CUP งบ QOF, UC, สป ,กองทุนตำบล กองทุนเทศบาล เงินบำรุง -ครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์ ทันตกรรมตามมาตรฐาน ของ สถานบริการ ระบบ DHS

10 สาขาสุขภาพช่องปาก service delivery สถานการณ์ปัญหา
ตัวชี้วัดสุขภาพ เป้าหมาย 2557 2558 2559 กลุ่มอายุ 12ปี <50% 52.58 48.83. 21.08 -เด็กประถมศึกษาได้รับการตรวจช่องปากร้อยละ 85 -เด็กประถมศึษาปีที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันร้อยละ 40 -เด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับบริการแบบ ผสมผสานแบบสมบูรณ์ ร้อยละ 17 -สนับสนุนให้ดำเนินกิจกรรมเครือข่ายเด็กไทยฟันดีอำเภอละ 1 แห่ง -อัตราการเกิดฟันผุในเด็ก 12 ปี น้อยกว่า ร้อยละ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ 55 %

11 HDC การจัดบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)
ระบบสารสนเทศ (Information system and sharing) กำลังคน ด้านสุขภาพ (Health workforce) การเงินการคลังสาธารณสุข (Financing) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และ เทคโนโลยี การอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance) -เด็กประถมศึกษาได้รับการตรวจช่องปากร้อยละ 85 -เด็กประถมศึษาปีที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันร้อยละ 40 -เด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับบริการแบบ ผสมผสานแบบสมบูรณ์ ร้อยละ 17 -สนับสนุนให้ดำเนินกิจกรรมเครือข่ายเด็กไทยฟันดีอำเภอละ 1 แห่ง -อัตราการเกิดฟันผุในเด็ก 12 ปี น้อยกว่าร้อยละ 50 1.ในกลุ่มที่ผ่านเกณฑ์ ต้องลดลงร้อยละ 1 2.ในกลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ควรทำให้ได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 50% โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ 55 % HDC ข้อมูล 43 แฟ้ม ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ ทันตาภิบาล . ผู้ช่วยทันตแพทย์ ทันตแพทย์ทั่วไป ทันตแพทย์เฉพาะทางเด็ก ทันตสาธารณสุข สนับสนุนให้มีการหมุนเวียนให้บริการทันตกรรมใน CUP งบ QOF, UC, สป ,กองทุนตำบล กองทุนเทศบาล เงินบำรุง -ครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์ ทันตกรรมตามมาตรฐาน ของ สถานบริการ ระบบ DHS

12 สาขาสุขภาพช่องปาก service delivery สถานการณ์ปัญหา
ตัวชี้วัดสุขภาพ เป้าหมาย 2557 2558 2559 ผู้สูงอายุมีฟันคู่สบ 20ซี่ >60% 54.24 50.38 55.49 -ส่งเสริมทันตสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 ชมรม/อำเภอ -ผู้ป่วยในคลินิกเบาหวานได้รับบริการทันตกรรมร้อยละ 20 -ใส่ฟันเทียมในผู้สูงอายุตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ 55 %

13 HDC การจัดบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)
ระบบสารสนเทศ (Information system and sharing) กำลังคน ด้านสุขภาพ (Health workforce) การเงินการคลังสาธารณสุข (Financing) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และ เทคโนโลยี การอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance) -ส่งเสริมทันตสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 ชมรม/อำเภอ -ผู้ป่วยในคลินิกเบาหวานได้รับบริการทันตกรรมร้อยละ 20 -ใส่ฟันเทียมในผู้สูงอายุตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีบริการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ 55 % HDC ข้อมูล 43 แฟ้ม ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ ทันตาภิบาล . ผู้ช่วยทันตแพทย์ ทันตแพทย์ทั่วไป ทันตแพทย์เฉพาะทางเด็ก ทันตสาธารณสุข สนับสนุนให้มีการหมุนเวียนให้บริการทันตกรรมใน CUP งบ QOF, UC, สป ,กองทุนตำบล กองทุนเทศบาล เงินบำรุง -ครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์ ทันตกรรมตามมาตรฐาน ของ สถานบริการ ระบบ DHS

14 การจัดการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)
ปีงบประมาณ ระดับหน่วยบริการ การจัดการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) 2560 ระดับ A ระดับ S จัดบริการสุขภาพช่องปากในทุกระดับหน่วยบริการ ตั้งแต่ระดับ A จนถึง รพ.สต.ทุกจังหวัด (ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู ) ลดโรค = ป้องกัน 2. Access to care: เพิ่มการเข้าถึงบริการ ทันตกรรม 3. Equity Quality Efficiency (EQE):คุณภาพการรักษา (พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญ และศูนย์ฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน เขตละ 1 แห่ง) ระดับ M1,M2 ระดับ F รพ.สต 2561 2562 2563 2564


ดาวน์โหลด ppt แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google