ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
โครงการปลุกพลังเปลี่ยนไทย Inspiring Thailand โครงการผนึกพลังขับเคลื่อนภาคพลเมือง สู่ประเทศไทยมิติ ใหม่ Solidarity for change.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บทบาทการดำเนินงาน ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ ตุลาคม 2558.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ระบบการตรวจราชการ และนิเทศงาน ปี 2555
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย สุริยะ วงศ์คงคาเทพ

สถานการณ์สุขภาพ และสิ่งท้าทาย 1 ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร 2 ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวิถีชีวิต 3 ภาวะสุขภาพและภัยคุกคาม 4 นโยบายส่งเสริมสุขภาพของรัฐ

โครงสร้างและกลไกของระบบสร้างเสริมสุขภาพ 1 วิวัฒนาการของระบบดำเนินงาน 3 ระดับ 2 องค์กรที่มีบทบาทสำคัญ (กสธ. สปสช. อปท.) 3 นโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 4 การลงทุนของภาครัฐเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 5 การบริหารจัดการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ

ระบบการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ สสส. สปสช. ก.สาธารณสุข หน่วยงานอื่น ระดับส่วนกลาง เขต สปสช. เขต สธ. จังหวัด/อ/ต ระดับปฏิบัติ อปท. องค์กรชุมชน ประชาชน ระดับชุมชน

บทเรียนจาก M&E กรณีศึกษาจังหวัด 1 บทบาทของ กสธ. กับอำนาจทางการเงินที่ลดลง 2 ยุทธศาสตร์ใหญ่ แต่โครงการขนาดเล็ก จำนวนมาก 3 แผนบูรณาการเชิงรุก ห่วงโซ่สำคัญที่หายไปจากระบบ 4 ช่องว่างระหว่าง จว. กับอำเภอ/ตำบล นับวันห่างจากกัน 5 ศูนย์วิชาการระดับเขต กับบทบาทที่เปลี่ยนไป 6 สปสช. กับสมดุลระหว่างผลงานกับผลสัมฤทธ์การพัฒนา

สัดส่วนงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพจังหวัด

ความท้าทายต่อระบบสร้างเสริมสุขภาพ 1 ระบบสร้างเสริมมีแนวโน้มตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาวะในสังคมไทย ได้ค่อนข้างล่าช้าไม่ทันการ 2 องค์กรและระบบบริการที่มีอยู่อาจไม่สามารถรองรับได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร 3 บทบาทและการมีส่วนร่วมจากชุมชนและท้องถิ่น ยังไม่มีความตื่นตัวมากพอ

1 นโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ คณะกรรมการ (ที่ปรึกษา) นโยบายสุขภาพแห่งชาติ เป็น Advisory Commission โดยอำนาจทางกฎหมาย ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เสนอแนะทิศทางการทำงานขององค์กรสุขภาพภาครัฐ ส่งเสริมคุ้มครองสิทธิบุคคล และสิทธิชุมชนในการดูและสุขภาพ

1 นโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ การกำหนดปัญหาสำคัญเร่งด่วน เป็นวาระแห่งชาติ ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร ปัญหาของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เพิ่มขึ้น ปัญหาสุขภาพจิตของประชากร ปัญหาน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประชากร

1 นโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ แผนยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับชาติ ยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนในสังคม สนับสนุนเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ ตั้งแต่ระดับประเทศ จนถึงระดับชุมชน

2 โครงสร้างและการจัดองค์กร ข้อเสนอแนะ การปรับโครงสร้างและบทบาทของกรม ปรับกระบวนทัศน์ และรูปแบบการทำงานให้มี Strategic roles และทำงานเครือข่ายมากขึ้น สนับสนุนให้มี “คลังสมองเชิงยุทธศาสตร์” เพื่อประเมินสถานการณ์และเสนอแนะมาตรการที่เหมาะสม พัฒนากลไกการติดตามประเมินผล (M&E)

2 โครงสร้างและการจัดองค์กร ข้อเสนอแนะ การจัดการองค์กรระดับเขต จัดตั้ง “สำนักงานสาธารณสุขเขต” เพื่อเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์กับการปฏิบัติในพื้นที่ สสข. เป็นราชการส่วนกลาง ปรับบทบาทของ ผตร./สธน. จากความสัมพันธ์แนวดิ่ง เป็นการส่งเสริมให้จังหวัดบริหารจัดการงานสร้างเสริมสุขภาพแบบพหุภาคีในสเกลจังหวัด

ข้อเสนอต่อระบบการสร้างเสริมสุขภาพ บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขเขต สนับสนุนบริหารราชการกระทรวงในระดับเขต ตรวจราชการนโยบายและแผน ตรวจสอบข้อเท็จจจริงการปฏิบัติงาน เป็นแกนประสานการนิเทศ ติดตาม กำกับ ตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ประสานราชการกับส่วนราชการและภาคส่วน ข้อเสนอต่อระบบการสร้างเสริมสุขภาพ

2 โครงสร้างและการจัดองค์กร ข้อเสนอแนะ การจัดการองค์กรระดับจังหวัด ปรับกระบวนทัศน์ของผู้บริหาร และบทบาทของ สสจ. ใหม่ มุ่งเน้นงานยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด เป็นภารกิจสำคัญ พัฒนาความเป็นผู้นำเชิงยุทธศาสตร์ > ผู้บริหารหน่วยงาน บริหารยุทธศาสตร์จังหวัด ควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานและบุคลากรในการใช้ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในพื้นที่

3 การบริหารการเงินเพื่อสุขภาพ ข้อเสนอแนะ การจัดสรรงบประมาณเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เพิ่มสัดส่วนงบส่งเสริมป้องกันเป็น 0.48% ของ THE หรือ 47,000 ล้านบาท/ปี (เพิ่มเป็น 2 เท่าของปัจจุบัน) รัฐควรใช้นโยบายการคลัง หรือมาตรการเก็บภาษีเฉพาะ เพื่อเสริมข้อจำกัดด้านงบประมาณ

3 การบริหารการเงินเพื่อสุขภาพ ข้อเสนอแนะ กลไกการบริหารจัดการด้านการเงิน สปสช. ควรใช้จุดแข็งของตน (ความคล่องตัว ยืดหยุ่น) มาประสานการทำงานร่วมกับ กสธ. และหน่วยงานอื่น โดยปรึกษาหารือการทำงาน ตั้งแต่ต้นน้ำจนปลายน้ำ สปสช. ควรระวังกรณีเป็นผู้กำหนดมาตรการโดยลำพัง เพื่อให้ผู้อื่นปฏิบัติ หรือมุ่งตรวจสอบผลงานมากเกินไป พัฒนาศักยภาพการจัดการของหน่วยงานจังหวัด ภายใต้ระบบ M&E ที่เข้มข้น

ข้อเสนอต่อระบบการสร้างเสริมสุขภาพ