ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย สุริยะ วงศ์คงคาเทพ
สถานการณ์สุขภาพ และสิ่งท้าทาย 1 ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร 2 ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวิถีชีวิต 3 ภาวะสุขภาพและภัยคุกคาม 4 นโยบายส่งเสริมสุขภาพของรัฐ
โครงสร้างและกลไกของระบบสร้างเสริมสุขภาพ 1 วิวัฒนาการของระบบดำเนินงาน 3 ระดับ 2 องค์กรที่มีบทบาทสำคัญ (กสธ. สปสช. อปท.) 3 นโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 4 การลงทุนของภาครัฐเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 5 การบริหารจัดการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
ระบบการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ สสส. สปสช. ก.สาธารณสุข หน่วยงานอื่น ระดับส่วนกลาง เขต สปสช. เขต สธ. จังหวัด/อ/ต ระดับปฏิบัติ อปท. องค์กรชุมชน ประชาชน ระดับชุมชน
บทเรียนจาก M&E กรณีศึกษาจังหวัด 1 บทบาทของ กสธ. กับอำนาจทางการเงินที่ลดลง 2 ยุทธศาสตร์ใหญ่ แต่โครงการขนาดเล็ก จำนวนมาก 3 แผนบูรณาการเชิงรุก ห่วงโซ่สำคัญที่หายไปจากระบบ 4 ช่องว่างระหว่าง จว. กับอำเภอ/ตำบล นับวันห่างจากกัน 5 ศูนย์วิชาการระดับเขต กับบทบาทที่เปลี่ยนไป 6 สปสช. กับสมดุลระหว่างผลงานกับผลสัมฤทธ์การพัฒนา
สัดส่วนงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพจังหวัด
ความท้าทายต่อระบบสร้างเสริมสุขภาพ 1 ระบบสร้างเสริมมีแนวโน้มตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาวะในสังคมไทย ได้ค่อนข้างล่าช้าไม่ทันการ 2 องค์กรและระบบบริการที่มีอยู่อาจไม่สามารถรองรับได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร 3 บทบาทและการมีส่วนร่วมจากชุมชนและท้องถิ่น ยังไม่มีความตื่นตัวมากพอ
1 นโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ คณะกรรมการ (ที่ปรึกษา) นโยบายสุขภาพแห่งชาติ เป็น Advisory Commission โดยอำนาจทางกฎหมาย ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เสนอแนะทิศทางการทำงานขององค์กรสุขภาพภาครัฐ ส่งเสริมคุ้มครองสิทธิบุคคล และสิทธิชุมชนในการดูและสุขภาพ
1 นโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ การกำหนดปัญหาสำคัญเร่งด่วน เป็นวาระแห่งชาติ ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร ปัญหาของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เพิ่มขึ้น ปัญหาสุขภาพจิตของประชากร ปัญหาน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประชากร
1 นโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ แผนยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับชาติ ยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนในสังคม สนับสนุนเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ ตั้งแต่ระดับประเทศ จนถึงระดับชุมชน
2 โครงสร้างและการจัดองค์กร ข้อเสนอแนะ การปรับโครงสร้างและบทบาทของกรม ปรับกระบวนทัศน์ และรูปแบบการทำงานให้มี Strategic roles และทำงานเครือข่ายมากขึ้น สนับสนุนให้มี “คลังสมองเชิงยุทธศาสตร์” เพื่อประเมินสถานการณ์และเสนอแนะมาตรการที่เหมาะสม พัฒนากลไกการติดตามประเมินผล (M&E)
2 โครงสร้างและการจัดองค์กร ข้อเสนอแนะ การจัดการองค์กรระดับเขต จัดตั้ง “สำนักงานสาธารณสุขเขต” เพื่อเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์กับการปฏิบัติในพื้นที่ สสข. เป็นราชการส่วนกลาง ปรับบทบาทของ ผตร./สธน. จากความสัมพันธ์แนวดิ่ง เป็นการส่งเสริมให้จังหวัดบริหารจัดการงานสร้างเสริมสุขภาพแบบพหุภาคีในสเกลจังหวัด
ข้อเสนอต่อระบบการสร้างเสริมสุขภาพ บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขเขต สนับสนุนบริหารราชการกระทรวงในระดับเขต ตรวจราชการนโยบายและแผน ตรวจสอบข้อเท็จจจริงการปฏิบัติงาน เป็นแกนประสานการนิเทศ ติดตาม กำกับ ตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ประสานราชการกับส่วนราชการและภาคส่วน ข้อเสนอต่อระบบการสร้างเสริมสุขภาพ
2 โครงสร้างและการจัดองค์กร ข้อเสนอแนะ การจัดการองค์กรระดับจังหวัด ปรับกระบวนทัศน์ของผู้บริหาร และบทบาทของ สสจ. ใหม่ มุ่งเน้นงานยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด เป็นภารกิจสำคัญ พัฒนาความเป็นผู้นำเชิงยุทธศาสตร์ > ผู้บริหารหน่วยงาน บริหารยุทธศาสตร์จังหวัด ควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานและบุคลากรในการใช้ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในพื้นที่
3 การบริหารการเงินเพื่อสุขภาพ ข้อเสนอแนะ การจัดสรรงบประมาณเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เพิ่มสัดส่วนงบส่งเสริมป้องกันเป็น 0.48% ของ THE หรือ 47,000 ล้านบาท/ปี (เพิ่มเป็น 2 เท่าของปัจจุบัน) รัฐควรใช้นโยบายการคลัง หรือมาตรการเก็บภาษีเฉพาะ เพื่อเสริมข้อจำกัดด้านงบประมาณ
3 การบริหารการเงินเพื่อสุขภาพ ข้อเสนอแนะ กลไกการบริหารจัดการด้านการเงิน สปสช. ควรใช้จุดแข็งของตน (ความคล่องตัว ยืดหยุ่น) มาประสานการทำงานร่วมกับ กสธ. และหน่วยงานอื่น โดยปรึกษาหารือการทำงาน ตั้งแต่ต้นน้ำจนปลายน้ำ สปสช. ควรระวังกรณีเป็นผู้กำหนดมาตรการโดยลำพัง เพื่อให้ผู้อื่นปฏิบัติ หรือมุ่งตรวจสอบผลงานมากเกินไป พัฒนาศักยภาพการจัดการของหน่วยงานจังหวัด ภายใต้ระบบ M&E ที่เข้มข้น
ข้อเสนอต่อระบบการสร้างเสริมสุขภาพ