สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การดำเนินงาน และการรายงานผลการดำเนินงาน ตามแนวทางประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วางแผน รายงานผล รายงานผล รายงานผล รายงานผล ดำเนินงาน ดำเนินงาน วางแผน 3 ดำเนินงาน รายงานผล วางแผน รายงานผล วางแผน 1 2 4
การรายงานผลการดำเนินงาน เขียนในสิ่งที่ทำ ดำเนินงาน รายงานผล วางแผน ปรับปรุง ทำในสิ่งที่เขียน
จะดำเนินงานได้ดี ต้องมีแผน แผนจะดี ต้องมีเป้าหมายชัด เป้าหมายจะชัดเจน ต้องเข้าใจเกณฑ์อย่างแจ่มแจ้ง
การเขียนรายงานผลการดำเนินงาน รายงานในสิ่งที่เกณฑ์ถาม มีรายละเอียดข้อมูลเพียงพอ เพื่อแสดงว่ามี การดำเนินงานตาม เกณฑ์ จัดเรียงข้อมูลให้ง่ายต่อความ เข้าใจของผู้อ่าน ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลที่รายงาน
กระบวนการ กระบวนการที่ดี ต้องเป็นระบบ มี ขั้นตอนที่ชัดเจน สามารถทำซ้ำได้ (ระบุ ได้ว่าว่าใคร ทำอะไร เมื่อไหร่ อย่างไร) การประเมินกระบวนการ ไม่ใช่การ ประเมินกิจกรรมแต่เป็นการประเมินว่าเมื่อ ทำตามขั้นตอน วิธีการในกระบวนการ แล้วก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์หรือไม่ แต่ละขั้นตอนมีข้อขัดข้อง ปัญหาอุปสรรค อย่างไร ท่านปรับปรุงกระบวนการของ ท่านอย่างไรเพื่อมุ่งให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีขึ้น อย่างไร
การรายงานตัวชี้วัดกระบวนการ การกำหนดคุณสมบัติ จำนวน เกณฑ์ วิธีการรับ การประชาสัมพันธ์ การรับสมัคร การคัดเลือก การวิเคราะห์ประสิทธิผล ควรรายงาน กระบวนการที่มีการ ดำเนินการในเรื่องนั้น ๆ หากเป็นไปได้ควรรายงาน ขั้นตอนของกระบวนการ (ไม่ใช่รายละเอียดของกิจกรรมที่ ทำ) ระบุว่าขั้นตอนดังกล่าว ดำเนินงานอะไร โดยใคร เมื่อไหร่ อย่างไร รายงานการประเมิน กระบวนการ และการ ปรับปรุงกระบวนการที่ได้ ดำเนินการ การรับนักศึกษา
การเลือก อาจารย์ที่ปรึกษา-นักศึกษา การรวบรวมข้อมูลความเชี่ยวชาญอาจารย์ในหลักสูตร การวิเคราะห์ข้อมูลภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของอาจารย์ในหลักสูตร การรวบรวมข้อมูลประเด็นที่นักศึกษาสนใจทำวิทยานิพนธ์ การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา การประเมินประสิทธิผล การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์ ข้อ 8 การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของ ผู้สำเร็จการศึกษา ควรรายงาน ชื่อนักศึกษาที่สำเร็จ การศึกษาในปีการศึกษาที่รายงาน ชื่อผลงาน แหล่งที่ตีพิมพ์ กรณีที่หลักสูตร ป.โทที่มีเฉพาะแผน ก หรือ ป. เอก จำนวน นศ.ที่สำเร็จในส่วนนี้ ต้องสอดคล้อง กับข้อมูลในองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวบ่งชี้ 2.2 ในส่วนข้อมูลจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่นำมาใช้ คำนวนร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ ตีพิมพ์เผยแพร่ฯ
นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ข้อ 8 การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จ การศึกษา ตัวอย่างการรายงานข้อมูลการตีพิมพ์เผยแพร่ นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ชื่อผลงาน แหล่งเผยแพร่ ค่าน้ำหนัก 1. …….. ……………………………… …… ….
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์ ข้อ 9 ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ ควรรายงานชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาทุกคนใน หลักสูตร พร้อมทั้งภาระงาน ***นับเฉพาะอาจารย์ที่ปรึกษาหลักเท่านั้น กรณีที่อาจารย์ท่านนั้นเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ของนักศึกษาหลายหลักสูตร ให้นับภาระงานทุก หลักสูตร *** สามารถตรวจสอบข้อมูลได้จากเวปไซด์บัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 9 ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ ตัวอย่างการรายงาน แบบ 1 ชื่ออาจารย์ ปีการศึกษา 2558 Thesis IS หน่วยภาระงาน รศ.ดร…. a 6 รศ.ดร…. 2 a ขออนุมัติให้ควบคุมวิทยานิพนธ์มากกว่า 5 เรื่อง จากบัณฑิตวิทยาลัยแล้ว ตัวอย่างการรายงาน แบบ 2 ชื่ออาจารย์ ภาค 1/2558 ภาค 2/2558 Thesis IS หน่วยภาระงาน ผศ.ดร…. 3 0 2 7 8
ตัวบ่งชี้ที่ 2. 2 ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับ... ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ นักศึกษาและผู้สำเร็จ การศึกษา ชื่อผลงาน แหล่งเผยแพร่ ค่าน้ำหนัก … ชื่อวารสาร ฉบับ ปีที่พิมพ์ หน้า ... ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด (ปีการศึกษา) ร้อยละของผลงานของผู้เร็จการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ รายงานเฉพาะผลงานที่ตีพิมพ์ในปีปฏิทิน เช่น การรายงานในปีการศึกษา 2559 ให้รายงานเฉพาะผลงานที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2559 เท่านั้น ตรวจสอบค่าน้ำหนักให้ถูกต้อง *** ป.โท และ ป.เอก ค่าน้ำหนักต่างกัน***
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา: ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา - รายงานให้ครบ (การคงอยู่ การสำเร็จการศึกษา ความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา) หาก มีข้อมูลให้รายงานแนวโน้ม (ข้อมูลอย่างน้อย 3 ปี) - ตัวชี้วัดที่พบการรายงานไม่ตรง วัตถุประสงค์บ่อยๆ คือ ความพึงพอใจ “เจตนารมณ์ของเกณฑ์ต้องการให้มีการ รายงานความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ กระบวนการในตัวบ่งชี้ 3.1 (การรับนักศึกษา) และตัวบ่งชี้ 3.2 (การส่งเสริมและพัฒนา นักศึกษา)”
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์: ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร ตัวอย่างการรายงาน ลำดับที่ ผลงาน ค่าน้ำหนัก หมายเหตุ 0.6 TCI 2 1.0 ISI SCOPUS รายงานรายละเอียดให้ครบตามรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม รายงานผลงานที่มีการตีพิมพ์ตามปี พ.ศ. (ปีการศึกษา 2559 ให้รายงานการตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2559) รายงานผลงานเฉพาะอาจารย์ประจำหลักสูตร (ผลงานอาจารย์ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตรไม่นับ) ผลงานของนักศึกษาที่มีชื่ออาจารย์ร่วมตีพิมพ์สามารถนับได้ ตรวจสอบค่าน้ำหนักให้ถูกต้อง
ฐานข้อมูลที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนครั้งการได้รับอ้างอิง องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์: จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร ตัวอย่างการรายงาน ลำดับ ชื่อผลงาน ฐานข้อมูลที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนครั้งการได้รับอ้างอิง 1 SCOPUS 4 2 TCI 27 รายงานรายละเอียดให้ครบตามรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม นับผลงานที่มีการตีพิมพ์ตามปี พ.ศ. (5 ปีย้อนหลัง เช่น การรายงานในปีการศึกษา 2559 นับผลงานที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2555-2559 และได้รับการอ้างอิง) รายงานผลงานเฉพาะอาจารย์ประจำหลักสูตร (ผลงานอาจารย์ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตรไม่นับ) ผลงานของนักศึกษาที่มีชื่ออาจารย์ร่วมตีพิมพ์สามารถนับได้ อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร = จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์: ผลที่เกิดขึ้นกับอาจารย์ - รายงานให้ครบ (การคงอยู่ ความพึงพอใจ) - หากมีข้อมูลให้รายงานแนวโน้ม (ข้อมูลอย่าง น้อย 3 ปี) - ตัวชี้วัดที่พบการรายงานไม่ตรง วัตถุประสงค์บ่อยๆ คือ ความพึงพอใจ “เจตนารมณ์ของเกณฑ์ต้องการให้มีการ รายงานความพึงพอใจของอาจารย์ต่อ กระบวนการในตัวบ่งชี้ 4.1: การบริหารและ พัฒนาอาจารย์ (ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำ หลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการส่งเสริมและ พัฒนาอาจารย์)”
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ 1. ... 2. ... - หลักสูตรที่มี มคอ.1ของสาขา ให้ใช้ KPI ที่ปรากฏใน มคอ.2 - หลักสูตรที่ใช้ มคอ.1 กลาง ใช้ KPI ใหม่ ตามที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ หลีกเลี่ยงการรายงาน “เป็นไปตามเกณฑ์ หรือ ” เพียงอย่างเดียว ควรรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อแสดงว่ามีการดำเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์ด้วย