เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บทบาทการดำเนินงาน ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ ตุลาคม 2558.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ การสนับสนุนงบประมาณ เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ กำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ปี 2559 - 2568

แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ปี 2559 - 2568 วิสัยทัศน์ : ภายในปี 2568 ประชาชนคนไทยในทุกหมู่บ้านปลอดภัยจากโรคพยาธิใบไม้ตับ ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โดยมีจำนวนลดลงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป้าประสงค์ : 1. ปชช. มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ ชุมชนมีศักยภาพในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน 2. กลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีเข้าถึงระบบบริการได้อย่างเสมอภาค ได้รับการดูแลรักษาแบบองค์รวม จนวาระสุดท้ายของชีวิต (End of Life) 1. นโยบาย ทิศทางและการควบคุมกำกับอย่างเข้มข้น 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งและขยายความครอบคลุมของมาตรการเชิงป้องกันทั้งในประเทศและภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 3. พัฒนาคุณภาพการคัดกรองวินิจฉัย การดูแลรักษา การส่งต่อทั้งระบบอย่าง บูรณาการ 4 .ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพของชุมชนและ อปท. ในการป้องกันควบคุม/จัดการสิ่งแวดล้อมโรคพยาธิใบไม้ตับ มะเร็ง ท่อน้ำดี และการดูแลผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีอย่างเป็นระบบ 5. การศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลและการ บูรณาการที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 10. สื่อสารสาธารณะ 11. บริหารจัดการให้เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับ กลุ่ม 15 ปีขึ้นไป 2. ตรวจมะเร็งท่อน้ำดี ด้วย Ultrasound กลุ่ม 40 ปีขึ้นไป 3. รักษาผู้ป่วยมะเร็งโดยการผ่าตัด 4. ดูแลผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี ระยะสุดท้าย แบบประคับประคอง 5. สอนเด็กนักเรียนเพื่อปรับพฤติกรรม 6. จัดการสิ่งแวดล้อม 7. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัยของประชาชน 8. พัฒนาด้านวิชาการ 9. พัฒนาระบบฐานข้อมูลรายบุคคล (Isan-cohort) มาตรการ ม.10 : 540 ลบ.  ม.11 : 540 ลบ. ม.1 : 447.506 ลบ.   ม.2 : 1,043.90 ลบ. ม.3 : 1,520 ลบ. ม.4 : 175 ลบ. ม.5 : 33.29 ลบ. ม.6 : 270 ลบ ม.7 : 49.935 ลบ. ม.8 : 40 ลบ. ม.9 : 37 ลบ. งบประมาณ เป้าหมาย : ตรวจพยาธิ 4.1 ล้านคน/ ตรวจ Ultrasound 5 ล้านคน/ผ่าตัดมะเร็ง 15,100 คน/Palliative care 75,000 คน/จัดการสิ่งแวดล้อม/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/พัฒนาบุคลากร/พัฒนาวิชาการ+ฐานข้อมูล+ระบบติดตามประเมินผล และการสนับสนุนการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ใน 27 จังหวัดพื้นที่เสี่ยง การขับเคลื่อน : ระยะที่ 1 : ปี 59-61 ถวายเป็นพระราชกุศล 3 วาระสำคัญของชาติ / ระยะที่ 2 : ปี 62-68 ขับเคลื่อนตามแผนให้เกิดการแก้ปัญหาที่ยั่งยืน

คำของบประมาณ ปี 2560 โครงการ จ้างเหมา ค่าการสัมมนา ค่าจัดประชุม วัสดุ ค่าเดินทางไปราชการ ค่าการสัมมนา ค่าจัดประชุม วัสดุ อุดหนุน รวม 1.นโยบาย/ขับเคลื่อน 15.120 8.430 3.140 2.106   28.796 2.สร้างการตระหนักรู้/ ปรับพฤติกรรม 4.860 7.830 2.917 0.6318 16.2 32.4388 3.อนามัยสิ่งแวดล้อม 5.04 7.83 1.954 1.053 -   - 15.877 4. ดูแลแบบประคับ ประคอง 27.00 3.51 4.148 8.100 81.00 125.864 52.02 27.6 0 12.159 5.8968 24.30 202.9758

คำของบประมาณ ปี 2560 แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาด้านสาธารณสุขและสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ผลผลิต : โครงการประชาชนได้รับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม กิจกรรม : สนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการพระราชดำริ

งบประมาณเบื้องต้น หลังการปรับของกรรมาธิการฯ จำนวน 35,246,000 บาท จัดอบรมพัฒนาและจัดทำฐานข้อมูลการติดตาม Cohort Study ประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ในพื้นที่ 27 จังหวัด 3,140,000 บาท จัดประชุมทีมงานจากส่วนกลางและระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย พัฒนาฐานข้อมูล และการขับเคลื่อนโครงการกำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี 2,106,000 บาท พัฒนารูปแบบการคัดกรองและระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้ายแบบองค์รวม ตั้งแต่สถานพยาบาลถึงชุมชน สำหรับผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี 30,000,000 บาท

การบริหารจัดการงบประมาณ ปี 2560 งบประมาณหลังปรับเกลี่ยใน สป. จะจัดสรรให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งส่วนกลางและระดับพื้นที่ บริหารงบประมาณในรูปคณะกรรมการร่วม (กสธ.) เพราะเป็นกิจกรรมบูรณาการ โดยบริหารงบประมาณร่วมกับผลผลิตและกิจกรรมอื่น (PM, CIPO, etc.) การกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัดและมาตรการร่วมกัน การประสานบูรณาการ การทำงานร่วมกับภาคส่วนอื่น มีระบบกำกับติดตามและการรายงานผล