การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาปฐมวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ชุมชนปลอดภัย.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาปฐมวัย ดร. ชัชวีร์ แก้วมณี สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาปฐมวัย ของ โรงเรียน.................... อำเภอ....... จังหวัด.......... สังกัด......................... เอกสารวิชาการลำดับที่...../..... ประกอบการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปกหน้า ชื่อหลักสูตร ชื่อสถานศึกษา ที่ตั้ง/สังกัด อาจระบุลำดับเอกสารตามระบบที่สถานศึกษากำหนดขึ้น (หน้าปกเอกสาร อาจจัดทำเป็นภาพประกอบเพื่อความสวยงามได้ตามหลักของการจัดทำเอกสารวิชาการ)

...................................................................................................................... .......................... (รองปก) ............................................................................................ ................................................... รองปก ใช้ข้อความเช่นเดียวกับหน้าปก (อาจออกแบบขนาดและประเภทของตัวอักษรให้สวยงามตามหลักของการจัดทำเอกสารวิชาการ)

คำนำ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................... คำนำ เป็นสาระที่ควรเขียนถึง ความเป็นมา สรุปเนื้อหาสาระในเล่ม แนวการใช้ประโยชน์จากเอกสาร ความคาดหวังจากการใช้เอกสาร ประกาศคุณูปการ เจ้าของผู้รับผิดชอบ

สารบัญ ............................. ........... ............................. ........... ............................. ........... สารบัญ เรื่องหรือเนื้อหาตามลำดับเนื้อหาเอกสาร ระบุเฉพาะชื่อหัวข้อหลัก หรือชื่อหัวข้อย่อยด้วยก็ได้ (ให้คำนึงถึงความสะดวกของผู้ใช้ คือความง่ายในการค้นหาเนื้อหาสาระ)

ข้อมูลทั่วไป ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (๑) ข้อมูลทั่วไป เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา สถานที่ตั้ง ข้อมูลอื่นๆที่เห็นว่าน่าสนใจ เช่น บุคลากร นักเรียน อาคารสถานที่ โครงสร้างระบบการบริหารจัดการ ฯลฯ (เขียนบรรยายให้กระชับ ชัดเจน)

ปรัชญา ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (๒) ปรัชญา ความเชื่อ หลักการหรืออุดมคติที่ตั้งไว้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ซึ่งครอบคลุมในประเด็นสำคัญ ต่อไปนี้ เด็กเรียนรู้ได้อย่างไร ใช้วิธีการใดในการพัฒนาเด็ก เห็นความสำคัญในการพัฒนาเด็กอย่างไร

วิสัยทัศน์ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ (๓) วิสัยทัศน์ เจตนารมณ์หรืออุดมคติของโรงเรียนที่คาดหวังจะพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดและมีความเป็นไปได้ โดยระบุคุณลักษณะของเด็กที่ต้องการให้เป็นว่ามีลักษณะอย่างไรซึ่งครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เขียนให้ชัดเจน สอดคล้องกับปรัชญา สภาพปัจจุบันและแนวโน้มของสังคม รวมทั้งความต้องการพื้นฐานของหลักสูตรปฐมวัย

(๔) ภารกิจ (หรือ พันธกิจ) ............................................................................................................................................................................................................... เป้าหมาย .................................................................................................................................................................................................................................................................................... (๔) ภารกิจ (หรือ พันธกิจ) ระบุกิจกรรมหรืองานที่ต้องปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ที่กำหนด โดยสะท้อนความคิดและการปฏิบัติงานของสถานศึกษาให้ชัดเจน (๕) เป้าหมาย คุณภาพของผู้เรียนที่คาดหวัง ซึ่งสอดคล้องกับกิจกรรมที่ปฏิบัติ อาจระบุเป็นระดับชั้น (อนุบาลปีที่ ๑ .... ๒ หรือ ๓ (ควรมีทั้งเป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ)

(๖) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โรงเรียนได้กำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนแต่ละระดับชั้นไว้ดังนี้ (๖) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ความสามารถหรือพฤติกรรมตามพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของเด็กที่โรงเรียนคาดหวัง เมื่อได้รับการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมตามวัย โรงเรียนควรเพิ่มเติมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่เป็นความต้องการของชุมชนตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนเข้าไว้ด้วย มาตรฐานที่พึงประสงค์ สภาพที่พึงประสงค์ อบ.๑ อบ.๒ อบ.๓ ๑...................... ๒...................... ๑.......... ๒.......... ๓..........

(๗) โครงสร้างเวลาเรียน ระดับชั้น กลุ่มอายุ เวลาเรียน โรงเรียนกำหนดช่วงระยะเวลาเรียนของนักเรียนแต่ละระดับชั้นไว้ดังนี้ (๗) โครงสร้างเวลาเรียน ระบุช่วงระยะเวลาที่โรงเรียนจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่เด็กกลุ่มอายุ ๓-๕ ปีตามที่ได้รับอนุญาต ระบุช่วงอายุของเด็กแต่ละระดับให้ชัดเจนว่ากำหนดให้เรียนรู้อยู่ในระดับชั้นใด แสดงเนื้อหาตามหลักสูตรให้เห็นอย่างกว้างๆว่าแต่ละสัปดาห์ทั้งตลอดปีการศึกษาไว้อย่างไร และด้วยสาระอะไร ระดับชั้น กลุ่มอายุ เวลาเรียน อนุบาล ๑ ๓ - ๔ ปี ๑ปี(....สป.) อนุบาล ๒ ๔ - ๕ ปี อนุบาล ๓ ๕ - ๖ ปี

สาระการเรียนรู้รายปี (๘) สาระการเรียนรู้รายปี สาระการเรียนรู้รายปีแต่ละระดับชั้นประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการ และค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม ใช้หลักการจัดการเรียนรู้จากเรื่องใกล้ตัวเด็กก่อนเรียนรู้ไกลตัว จากง่ายไปหายาก และจากน้อยไปหามาก สาระการเรียนรู้ไม่เน้นเนื้อหาและการท่องจำ มีส่วนประกอบที่แสดงให้เห็น ๒ ส่วนคือ ประสบการณ์สำคัญ และสาระที่ควรเรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ ราย ละ เอียด ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้รายปี อบ.๑ อบ.๒ อบ.๓ ๑......... ๒.......... ....................................................... ................................. ร่างกาย ........... สังคม ........................................................................................

การจัดประสบการณ์เรียนรู้รายปี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ โรงเรียนได้กำหนดการจัดประสบการณ์เรียนรู้รายปี โดย............................................................................. ซึ่งได้กำหนดการจัดประสบการณ์แต่ละระดับชั้น ดังนี้ (๙) การจัดประสบการณ์เรียนรู้รายปี ระบุหลักการ แนวทางหรือวิธีการนาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กโดยเขียนบรรยายให้ทราบ แสดงลำดับสป.และวันเวลาที่ ร.ร.จัดประสบการณ์ให้แก่เด็กในแต่ละระดับชั้นตลอดปีการศึกษา นำเอาสาระการเรียนรู้รายปี รายชั้น ที่วิเคราะห์ไว้แล้วมาคลี่ออกแล้วจัดวางให้เหมาะสมกับช่วงเวลาที่สอดคล้องสภาพหรือกิจกรรมของชุมชน เพื่อแสดงให้เห็นภาพรวมว่าสป.ใด เดือนใดจะจัดประสบการณ์เรียนรู้เรื่องอะไร อาจกำหนดเป็นหน่วยการเรียนรู้ก็ได้ สป.ที่ ว.ด.ป. ชื่อหน่วยการเรียนรู้ อบ.๑ อบ.๒ อบ.๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ............. ๔๐ ..............................................................................

(๑๐) การกำหนดตารางกิจกรรมประจำวัน โรงเรียนได้กำหนดตารางกิจกรรมประจำวันสำหรับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของน.ร.ชั้น อ.๑ ชั้น อ.๒ และชั้น อ.๓ ไว้ดังนี้ ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ (๑๐) การกำหนดตารางกิจกรรมประจำวัน แสดงการจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามตารางกิจกรรมประจำวัน ตามรูปแบบที่ร.ร.ได้เลือกไว้ให้สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพของชุมชนหรือตามลักษณะของการจัดกิจกรรม ใช้หลักการและขอบข่ายของการจัดกิจกรรมประจำวันตามที่หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ได้กำหนดไว้ เวลา กิจกรรมประจำวัน ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ ๐๘.๓๐-๐๘.๔๕ ๐๘.๔๕-๐๙.๐๐ ๐๙.๐๐-๐๙.๒๐ ๐๙.๒๐-๑๐.๒๐ ......................... ๑๔.๕๐-๑๓.๐๐ รับเด็ก เคารพธงชาติ ตรวจสุขภาพ ไปห้องน้ำ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์และเสรี ............................................................................................ เตรียมตัวกลับบ้าน

การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... (๑๑) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ระบุการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ของโรงเรียนทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน โดยคำนึงถึง วัยและพัฒนาการของเด็ก ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยและร่มรื่น ความเหมาะสมเพียงพอของสื่อ เครื่องเล่นและพื้นที่ปฏิบัติกิจกรรม ความพร้อมของอาคารสถานที่ การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับเด็ก พฤติกรรมการจัดประสบการณ์ฯของครูและอื่นๆ

สื่อและแหล่งเรียนรู้ การประเมินพัฒนาการ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ สื่อและแหล่งเรียนรู้ (๑๒) การประเมินพัฒนาการ ระบุถึงหลักการ แนวทางและวิธีการประเมินผลพัฒนาการ เกณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโดยยึดหลักการประเมินตามสภาพที่แท้จริง (เขียนบรรยายอย่างกว้างๆ) (๑๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้ กล่าวถึงสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ร.ร.จัดให้เด็กตามสภาพความเป็นจริง โดยคำนึงถึงความหลากหลาย ปลอดภัยและสอดคล้องกับการจัดประสบการณ์ (เขียนบรรยายเป็นความเรียงหรือเป็นข้อๆ เพื่อให้เห็นสภาพการดำเนินงานของโรงเรียน

การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. (๑๔) การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ ระบุถึงขั้นตอนการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ วิธีการนำแผนการจัดประสบการณ์ไปใช้ การยึดตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี รายชั้น การจัดประสบการณ์ สื่อและแหล่งเรียนรู้ การประเมินพัฒนาการ ที่โรงเรียนได้กำหนดได้ตั้งแต่ต้น (เขียนให้เห็นกระบวนการหรือขั้นตอนการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ของโรงเรียนตั้งแต่เริ่มดำเนินการจนมาเป็นแผนการเรียนรู้สำหรับจัดประสบการณ์ให้แก่เด็ก)

บรรณานุกรม ศึกษาธิการ,กระทรวง. หลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ บรรณานุกรม ศึกษาธิการ,กระทรวง. หลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว. ๒๕๖๐. ........................................................... ............................................. (๑๕) บรรณานุกรม (ถ้ามี) แสดงรายชื่อเอกสารที่นำมาใช้อ้างอิง และใช้ประกอบการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน (จัดแสดงบรรณานุกรมตามหลักวิชาการที่ถูกต้อง)

ภาคผนวก ........................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. (๑๖) ภาคผนวก แสดงข้อมูลอื่นๆ ที่เห็นว่าจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย โดยนำมาแสดงไว้ตามที่เห็นสมควร (แต่ไม่ควรมีมากจนเกินไป) เช่น รายชื่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา รายชื่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรของโรงเรียน คำลั่งแต่งตั้งคณะทำงาน รายนามผู้จัดทำเอกสาร