การพัฒนางานทางห้องปฏิบัติการ เครือข่ายเทคนิคการแพทย์ เขต ๑ เสาวรินทร์ มีชูทรัพย์ กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลินิค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
งานบริการการศึกษา.
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
 อำเภอ  จังหวัด  เขต / สลคช.  กรม / หน่วยงานภาคี  วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย  สถาบันการศึกษา  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บุคคลทั่วไป.
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนางานทางห้องปฏิบัติการ เครือข่ายเทคนิคการแพทย์ เขต ๑ เสาวรินทร์ มีชูทรัพย์ กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลินิค โรงพยาบาลสระบุรี

เป้าหมายในการพัฒนา ๑. พัฒนาระบบคุณภาพ - เพื่อให้ห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขเขต ๑ และ ๒ ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุขมีการพัฒนาระบบคุณภาพตามข้อกำหนดของมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ - เพื่อส่งเสริมให้ห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขเขต ๑ และ ๒ มีการทำงานประสานและช่วยเหลือกันอย่างเป็นเครือข่ายและสามารถขอรับการรับรองในโอกาสต่อไป

การแพทย์ - เพื่อลดต้นทุนการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ ๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานเทคนิค การแพทย์ - เพื่อลดต้นทุนการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ - เพื่อเพิ่มศักยภาพการบริการทางห้องปฏิบัติการในโรงพยาบาลแต่ ละระดับ - เพื่อพัฒนาระบบส่งต่อตัวอย่าง รายงานผลตรวจ และประสานข้อมูล ผล ตรวจระหว่างห้องปฏิบัติการ - เพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการใน เขต ๑

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ห้องปฏิบัติการงานเทคนิคการแพทย์ของโรงพยาบาลในเขต๑และ๒ ผ่านการรับรองตามระบบคุณภาพตามมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ ต้นทุนทางห้องปฏิบัติการลดลง ห้องปฏิบัติการในโรงพยาบาลแต่ละระดับ มีการเปิดบริการตรวจวิเคราะห์ที่เหมาะสมมากขึ้น ประชาชนเข้าถึงการบริการทางห้องปฏิบัติการผ่านเครือข่ายการบริการห้องปฏิบัติการอย่างเหมาะสม ลดการส่งตรวจต่อทางห้องปฏิบัติการออกนอกเขต

การดำเนินงาน ๑. พัฒนาระบบคุณภาพ ห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขเขต ๑ และ ๒ ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุขมีการพัฒนาระบบคุณภาพตามข้อกำหนดของมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์โดยได้รับงบสนับสนุนในการดำเนินโครงการจากศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐมาแล้ว ๒ปี ปีนี้เป็นปีที่ ๓

๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานเทคนิค การแพทย์ ๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานเทคนิค การแพทย์ ศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหา ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์/การทดสอบ ปัญหาราคาวัสดุสิ้นเปลือง ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาการส่งต่อภายนอกแตกต่างกัน กำหนดการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคดังนี้

ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหา ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์/การทดสอบ แตกต่างกัน * ปริมาณงานที่มากเกินภาระงานของเจ้าหน้าที่(วิเคราะห์จาก workload) เนื่องมาจากการส่งแล็บที่เกินความจำเป็น/เหมาะสมกับศักยภาพ โดยเฉพาะแพทย์ที่ต้องไปใช้ทุนที่โรงพยาบาลชุมชน การคัดเลือกเครื่องมือ/นำเทคโนโลยีซึ่งมีต้นทุนสูงมาใช้ในระบบอย่างไม่คุ้มค่า การขาดความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ต้นทุนของเจ้าหน้าที่ห้องแล็บ

ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาราคาวัสดุสิ้นเปลืองแตกต่างกัน วิธีการในการคัดเลือกและประเมินวัสดุสิ้นเปลืองอย่างเหมาะสม ระบบการชำระหนี้ อำนาจการต่อรองราคา

ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาการส่งต่อภายนอก ขาดระบบรับ-ส่งสิ่งส่งตรวจเครือข่ายภายในจังหวัดและเขต อย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหาการรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สะดวก รวดเร็ว

การบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ นำมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์เป็นแนวในการพัฒนา มุ่งเน้นการทำงานเป็นทีม ประสานเป็นเครือข่าย สนับสนุนการทำงานฉันท์พี่น้อง

กลวิธีการพัฒนา พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางห้องปฏิบัติการ การอบรมการบริหารต้นทุนทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินความคุ้มค่าในการใช้วัสดุและหาแนวทางการแก้ไข มีการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับการตรวจวิเคราะห์ที่ให้ได้ตามศักย์ภาพขั้นต่ำ และน้ำยาตรวจวิเคราะห์

กลวิธีการพัฒนา พัฒนาระบบรับ-ส่งสิ่งส่งตรวจและการรายงานผล การตรวจ ปรับปรุงระบบรับ-ส่งสิ่งส่งตรวจเครือข่ายภายในจังหวัดและเขต โดยมีรถยนต์ที่ใช้เฉพาะ ปรับปรุงระบบรายงานผลตรวจ และระบบบริหารสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคนิคแบบรายงานมาตรฐานเพื่อนำไปใช้ต่อได้

แผนระยะยาว พัฒนาระบบเครือข่ายบริการ แผนระยะยาว พัฒนาระบบเครือข่ายบริการ การสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการควรเป็นนโยบายระดับเขต เพื่อให้มีการปฏิบัติเป็นรูปแบบที่ชัดเจน

เครือข่ายห้องปฏิบัติการ ภายในจังหวัด เครือข่ายห้องปฏิบัติการ ภายในจังหวัด รพศ./รพท. รพ.ชุมชน (๑o) รพ.ชุมชน (๓o) รพ.ชุมชน (๖o) รพ.ชุมชน (๑o ) รพ.ชุมชน (๓o ) รพ.ชุมชน (๖o ) PCU PCU

เครือข่ายห้องปฏิบัติการระดับเขต รพ.สระบุรี รพ.พระนครศรีอยุธยา รพ.ปทุมธานี รพ.พระนั่งเกล้า รพ.ชุมชน (๑o) รพ.ชุมชน (๓o) รพ.ชุมชน (๖o ) ส่งผลตรวจและระบบบริหารสารสนเทศ รถรับ-ส่งสิ่งส่งตรวจและผลตรวจ PCU

การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ ทางเทคนิคการแพทย์ (NODE) เพิ่ม เครื่องมือตรวจอัตโนมัติ ตามความจำเป็น เพิ่มการบริการตรวจวิเคราะห์ที่ รพ.ชุมชน สนับสนุนวัสดุทางชันสูตรโรค โดยจัดซื้อร่วมจังหวัด เพิ่มการรายงานผลทางระบบสารสนเทศ Web site e mail / ไปรษณีย์ เพิ่มประสิทธิภาพการนำส่งสิ่งส่งตรวจภายในเครือข่าย

อุปสรรคในปัจจุบัน รพ.ทั่วไป / ศูนย์ (๓.๑ / ๓.๒) รพ.ชุมชน(๒.๑,๒.๒,๒.๓) ขาดระบบการชำระค่าบริการตรวจอย่างชัดเจน ขาดระบบส่งตรวจอย่างมีประสิทธิภาพ ขาดระบบรายงานผลการตรวจที่รวดเร็ว ขาดช่องทางการบริการทางเทคนิคการแพทย์แบบเชิงรุก รพ.สต รพ.ชุมชน(๒.๑,๒.๒,๒.๓) รพ.ทั่วไป / ศูนย์ (๓.๑ / ๓.๒) ขาดอัตรากำลังในระดับ รพ.ชุมชน และรพ.ทั่วไป/ศูนย์ ขาดการบริหารจัดการด้วยระบบสารสนเทศให้เพิ่มผลผลิตการบริการและบริหาร ขาดการประเมินภาระงานและต้นทุนการบริการตรวจวิเคราะห์

ผลการดำเนินงาน ๑. พัฒนาระบบคุณภาพ ห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขเขต ๑ และ ๒ ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุขมีการพัฒนาระบบคุณภาพตามข้อกำหนดของมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์และผ่านการรับรองตามมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์จากสภาเทคนิคการแพทย์ดังนี้

ผลการพัฒนาระบบคุณภาพเขต ๑(๒๕๕๓-๒๕๕๔) Participating hospitals in ๒๕๕๔ ๙๕.๘๓%(69ห้องปฏิบัติการ) (ยกเว้น วังน้อย บางปะหัน บางซ้าย) Participating hospitals in ๒๕๕๓ ๖๒.๕%(45ห้องปฏิบัติการ)

ก่อนดำเนินโครงการฯ LA = ๑๒.๘๒ % หลังดำเนินโครงการฯ LA = ๕๑.๘๕ %

Saraburi ยังไม่ได้รับการับรอง ๒๕๕๔ ๒๕๕๓ LA LA = ๙๑.๖๗ % ผลอย่างไม่เป็นทางการรพ.เสาไห้ผ่านแล้ว LA = ๑oo % ๒๕๕๓ LA =๒๕ % LA ยังไม่ได้รับการับรอง

Nonthaburi ยังไม่ได้รับการับรอง ยังไม่ได้รับการับรอง LA ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ LA www.themegallery.com Company Logo

Pathumthani ยังไม่ได้รับการับรอง ๒๕๕๓ LA ๒๕๕๔ LA = ๑๒.๕ % LA =๒๕ % www.themegallery.com Company Logo

ยังไม่ได้รับการับรอง Ayudhaya จังหวัด จำนวน ร.พ. ขั้นที่2 ขั้นที่3 LA ดำเนินการขอ LA อยุธยา 13 7 6 1 5 สมเด็จพระสังฆราชฯ ๒๕๕๓ LA = 0 % ๒๕๕๔ LA = ๓o.๗๗ % LA ไม่ได้ร่วมโครงการฯ ยังไม่ได้รับการับรอง

ยังไม่ได้รับการับรอง Ayudhaya จังหวัด จำนวน ร.พ. ขั้นที่2 ขั้นที่3 LA ดำเนินการขอ LA อยุธยา 13 7 6 1 5 สมเด็จพระสังฆราชฯ ๒๕๕๓ LA = 0 % ๒๕๕๔ LA = ๓o.๗๗ % LA ยังไม่ได้รับการับรอง

ผลการดำเนินงาน ๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานเทคนิค การแพทย์ ๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานเทคนิค การแพทย์ - พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางห้องปฏิบัติการ การอบรมการบริหารต้นทุนทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินความคุ้มค่าในการใช้วัสดุและหาแนวทางการแก้ไขไปแล้ว - พัฒนาระบบเครือข่ายบริการ ขณะนี้กำลังจะจัดการประชุมเรื่องการดำเนินการสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการในวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ และดำเนินการจัดทำการจัดซื้อร่วมวัสดุวิทยาศาสตร์ภายในจังหวัดและเขต

ปัญหา-อุปสรรค ปัญหามหาอุทกภัย ทำให้การดำเนินงาน ขาดความต่อเนื่อง การสนับสนุนงบประมาณดำเนินการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการ กำหนดการพัฒนาเครือข่ายเป็นนโยบายระดับเขต/จังหวัด

๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานเทคนิค การแพทย์ ๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานเทคนิค การแพทย์ ศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหา ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์/การทดสอบ ปัญหาราคาวัสดุสิ้นเปลือง ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาการส่งต่อภายนอกแตกต่างกัน กำหนดการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคดังนี้

สวัสดีค่ะ