กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ (นน.ร้อยละ ๑๐) ๑.๒ระดับความสำเร็จในการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจประชาชน (นน.ร้อยละ ๕) ๑.๓ระดับความสำเร็จของการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการปฏิบัติงานของกรมปศุสัตว์ (นน.ร้อยละ๕) ๑.๔การรับรองสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ (นน.ร้อยละ ๒๐) ๑.๕ระดับความสำเร็จในการยกระดับการเลี้ยงสัตว์ ให้มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (นน.ร้อยละ ๑๕) ๑.๖ร้อยละของจำนวนเกษตรกรที่ผ่านการรับรองสถานที่เลี้ยงไก่ชนที่มีระบบการป้องกันโรค (นน.ร้อยละ๑๐) ๑.๗ระดับความสำเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (นน.ร้อยละ๑๕) ๑.๘ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (นน.ร้อยละ ๕) ๑.๙ระดับความสำเร็จในการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี (นน.ร้อยละ ๕) ๑.๑๐ร้อยละความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่ปลูกสร้างแปลงพืชอาหารสัตว์ของเกษตรกร (นน.ร้อยละ๑๐)
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ(ต่อ) ๒.ตัวชี้วัดกลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ๒.๑ ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ผลการดำเนินงาน (ต.ค.๖๐ – ธ.ค.๖๐) อำเภอ เป้าหมาย (ราย) ผลการดำเนินงาน คะแนน เมือง ๑,๒๔๕ ๒๗ บางคนที่ ๙๓๔ ๒๐ อัมพวา ๔๕๑ ๔
กลุ่มยุทธศาสตร์ (ต่อ) ๒.๒ ระดับความสำเร็จในการดำเนินการสร้างความรับรู้เข้าใจประชาชน ผลการดำเนินงาน (ต.ค.๖๐ – ธ.ค.๖๐) อำเภอ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนน เมือง ดำเนินงานตามแผนฯและส่งรายงาน ส่งแผนแล้ว บางคนที อัมพวา ยังไม่ส่งแผน
กลุ่มยุทธศาสตร์ (ต่อ) เป้าหมายการสร้างความรับรู้ ผลิตและเผยแพร่การสร้างการรับรู้ตามนโยบายของรมต.เกษตรและสหกรณ์ ที่เกี่ยวข้องด้านปศุสัตว์ ๑. ผลิตภาพinfo graphic สัปดาห์ละ ๑ ชิ้นงาน เดือนละ ๔ ชิ้นงาน ๒. ผลิตคลิปวีดีทัศน์ ความยาว ๑-๒ นาที เดือนละ ๒ ชิ้นงาน ๓ .เผยแพร่ภาพ info graphic และคลิปวีดีทัศน์ ทาง Social Media อาทิ Facebook You Tube , Line , Twitter , Instagram แต่ละชิ้นงานไม่น้อยกว่า ๑ ช่องทาง เดือนละ ๖ ครั้ง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ (ต่อ) ๒.๓ระดับความสำเร็จของการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการปฏิบัติงานของกรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงาน อำเภอ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนน เมือง ผลงานฯ ๔๑ % บางคนที อัมพวา ผลงานฯ ๔๑%
กลุ่มยุทธศาสตร์ (ต่อ) ๓.การมอบปัจจัยการผลิต โครงการส่งเสริมการเกษตรผสมผสานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (งบยุทธศาสตร์จังหวัด) กิจกรรมพัฒนาการเลี้ยงไก่ไข่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๑ เวลา ๐๙.๓๐ น. มอบอวนตาข่าย ให้เกษตรกร จำนวน ๔๐ ราย ณ ศาลาเอนกประสงค์โรงเรียนนวัตกรรม หมู่ที่ ๑๐ ต.วัดประดู่ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ๔.การฝึกอบรมเกษตรกร โครงการเพิ่มประสิทธิภาพผลิตสินค้าปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย (Food safety ) และปลอดมลภาวะ (Zero waste Livestocks) (งบยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด) กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการเลี้ยงไก่พี้นเมืองและไก่ไข่ฯ วันที่ ๑๐ ม.ค.๖๑ ณ ศูนย์วิสาหกิจชุมชนวัดประดู่พอเพียง ม.๙ ต.วัดประดู่ อ.อัมพวา วันที่ ๑๑ ม.ค.๖๑ ณ ศูนย์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ม.1 ต.บางสะแก อ.บางคนที วันที่ ๑๒ ม.ค.๖๑ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนตำบลท้ายหาด ม.๔ ต.ท้ายหาด อ.เมืองฯ
กลุ่มยุทธศาสตร์ (ต่อ) ๕.การสำรวจและปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์รายครัวเรือน ประจำปี ๒๕๖๑ - จัดสรรค่าตอบแทนให้ผู้สำรวจและปรับปรุงข้อมูล ครัวเรือนละ ๓ บาท - จัดสรรค่าบริการอินเทอร์เนตสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต หน่วยงานละ ๒๐๗ บาท/เดือน - ติดความก้าวหน้าการปฏิบัติงานในระบบ e – Operation - ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งานระบบทะเบียนเกษตรกรฯได้ที่ http://ict.dld.go.th - การดำเนินงาน ประกอบด้วย ๑.ปรับปรุงข้อมูลเกษตรกรและจำนวนสัตว์ให้เป็นปัจจุบัน ๒.เพิ่มรูปภาพเกษตรกร ๓.เพิ่มรูปที่ตั้งฟาร์ม ๔.เพิ่มพิกัดฟาร์ม
กลุ่มยุทธศาสตร์ (ต่อ) ๖.อำเภอต้นแบบด้านปศุสัตว์ - ทำหนังสือผ่านสำนักงานปศุสัตว์ เขต ๗ เพื่อขอความอนุเคราะห์รถยนต์ของทางราชการ ให้สำนักงานปศุสัตว์อัมพวา เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ - กองแผนงานแจ้งการจัดสรรงบประมาณ ให้อำเภอต้นแบบ จำนวน ๑๓,๓๕๓ บาท