คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ปี 2559 – ปี 2560 การขับเคลื่อนงาน คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ปี 2559 – ปี 2560 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ประเด็นนำเสนอ ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน อสธจ.(รอบ 6 เดือน) ปีงบประมาณ 2559 ร่างกรอบการขับเคลื่อนงาน อสธจ. ปี 2560
บันไดการขับเคลื่อนการดำเนินงาน อสธจ. ปี ๖๐ ก้าวสำคัญ อสธจ. สู่ปี ๖๐ ? ปี ๕๙ มิติในเชิงคุณภาพ อสธจ. มีมติและการติดตามมติในการขับเคลื่อนประเด็นด้าน อวล. อย่างน้อย ๒ เรื่อง ตัวชี้วัด - มีการจัดประชุมไม่น้อยกว่า ๓ ครั้งต่อปี - มีมติและการติดตามมติ อย่างน้อย ๒ เรื่อง - มีการรายงานการประชุมและผลการดำเนินงาน ปี ๕๘ ปี ๕๗ คำสั่งแต่งตั้งให้มี อสธจ. ครบทุกจังหวัด (ยกเว้น กทม.) ตัวชี้วัด - มีการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของ อสธจ. - มีการจัดประชุม อสธจ. อย่างน้อย ๔ ครั้งต่อปี คำสั่งแต่งตั้ง อสธจ. นำร่อง ๓๒ จว. ตัวชี้วัด - มีการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของ อสธจ. - มีการจัดประชุม อสธจ. อย่างน้อย ๔ ครั้งต่อปี บันไดการขับเคลื่อนการดำเนินงาน อสธจ.
สถานการณ์การดำเนินงาน อสธจ. ปี 2559 (รอบ 6 เดือน) ระดับ D: รวม 29 จว. (ร้อยละ 38.15) ระดับ C : รวม 7 จว. (ร้อยละ 9.21) ระดับ Improve : รวม 40 จว. (ร้อยละ 52.63) ระดับ A: ดีเด่น (คะแนน >85) ระดับ B: ดีมาก (คะแนน <85) ระดับ C: ดี (คะแนน <65) ระดับ D: พื้นฐาน (คะแนน <45) ระดับ Improve (คะแนน <20) คำอธิบาย เกณฑ์การคิดคะแนน ค่าคะแนน 1. มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงานของฝ่ายเลขานุการฯ 2. มีการจัดประชุมไม่น้อยกว่า 3 ครั้งต่อปี (จัดประชุม 1 ครั้ง ได้ 10 คะแนน) 3. มีมติในการขับเคลื่อนประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 2 เรื่อง (มีมติ 1 เรื่อง ได้ 10 คะแนน) 4. มีการติดตามมติ 2 เรื่อง (มีการติดตามมติ 1 เรื่อง ได้ 10 คะแนน) 5. มีรายงานการประชุมและสรุปผลการดำเนินงานตามมติ (มีรายงานการประชุม 5 คะแนน/ครั้ง และสรุปผลการดำเนินงานตามมติ 5 คะแนน) 10 30 20 100 ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๙
การดำเนินงาน อสธจ. รอบ ๖ เดือน เขตสุขภาพ ความก้าวหน้าในการจัดประชุม อสธจ. (จังหวัด) จัดประชุม 1 ครั้ง 2 ครั้ง ยังไม่จัดประชุม (มีแผน) ไม่มีแผน 1 6 - 2 4 3 5 7 8 9 10 11 12 รวม 47 22 การดำเนินงานจัดประชุม อสธจ. รายเขตสุขภาพ
ข้อมูล เขต 1* เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8* เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 มติ 1 เรื่อง (ร้อยละ) 1 (25.0) มติ > 2 เรื่อง 6 (100.0) 3 (75.0) 4 5 2 หมายเหตุ: จัดประชุมไปแล้ว 53 จว. มีผลการรายงานมติ จำนวน 40 จว. (ร้อยละคิดจากจำนวนจังหวัดที่มีการรายงานมติในแต่ละเขตสุขภาพ)
มติจากการประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) แหล่งข้อมูล : 1. รายงานการประชุม ๒๖ จังหวัด(จำนวน ๒๗ ฉบับ) 2. มติการประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด จากศูนย์อนามัย 3. รายงานการดำเนินงาน อสธจ. (ตก.) รอบ ๖ รวมทั้งสิ้น ๔0 จังหวัด ที่มีการรายงานมติ ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ เมษายน 255๙
รูปแบบการสั่งการตามมติ อสธจ. แหล่งข้อมูล : 1. รายงานการประชุม ๒๖ จังหวัด(จำนวน ๒๗ ฉบับ) 2. มติการประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด จากศูนย์อนามัย 3. รายงานการดำเนินงาน อสธจ. (ตก.) รอบ ๖ เดือน รวมทั้งสิ้น ๔0 จังหวัด ที่มีการรายงานมติ ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ เมษายน 255๙
ปัญหาอุปสรรค ในรอบ ๖ เดือน
ปัญหาและอุปสรรค ระดับ อสธจ. ๑) ขาดกลไกการประสานงานในระดับผู้บริหารของกระทรวง ผู้บริหารระดับกรม ส่วนภูมิภาค และจังหวัด ของหน่วยงานนอกกระทรวงสาธารณสุข เพื่อผลักดันการขับเคลื่อนกลไก อสธจ. 2) อนุกรรมการฯในองค์คณะ อสธจ. ยังขาดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 3) ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องยังไม่ทราบบทบาทที่ชัดเจนในคณะอนุกรรมการ อสธจ. (กลไก บทบาท อำนาจหน้าที่ตาม พรบ.สธ.) 4) ฝ่ายเลขานุการ/ผู้ช่วยเลขานุการ ขาดความรู้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 5) งบประมาณในการจัดประชุมและการดำเนินงานตามมติไม่เพียงพอ(ผู้บริหารไม่ใหความสำคัญ) 6) ขาดข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และข้อมูลการเฝ้าระวังฯ ที่เชื่อมโยงในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับอำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และระดับประเทศที่เป็นระบบเดียวกัน 7) การดำเนินงานในการจัดประชุม อสธจ. ในปีงบประมาณ ๕๙ มีความล่าช้า ซึ่งอาจไม่บรรลุเป้าหมายให้มีการจัดประชุมไม่น้อยกว่า ๓ ครั้งต่อปี เนื่องความพร้อมขององค์คณะฯ/ประธานและงบประมาณล่าช้า
ปัญหาและอุปสรรค ระดับ ศอ. ปัญหาและอุปสรรค ระดับ ศอ. ๑) ข้อมูลการรายงานของ ศอ. และแบบ ตก. (ผู้ตรวจราชการ) ไม่สอดคล้องกัน ส่งผลให้รายงานมีความล่าช้า เนื่องจากต้องทวนสอบข้อมูลกลับไปยัง จว. และ ศอ. (ผู้รับผิดชอบงาน) ๒) ศอ. รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน อสธจ. ต่อส่วนกลางค่อนข้างล่าช้า ไม่ทันต่อความต้องการของผู้บริหาร (เนื่องจากปี ๕๗-๕๘ ศกม. ตามจังหวัดโดยตรง และในปี ๕๙ ศอ. ต้องรวบรวมและรายงานมายัง ศกม.) ๓) ศอ. ขาดการวิเคราะห์ความพร้อมของคณะอนุกรรมการสาธารณสุข (อสธจ.) ของจังหวัดในเขต เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานสนับสนุน อสธจ.
ปัญหาและอุปสรรค ระดับส่วนกลาง ปัญหาและอุปสรรค การตรวจราชการ ๑) ขาดเครื่องมือ/งานวิจัย/องค์ความรู้ที่มีความเหมาะสมกับบริบทในพื้นที่ และทันต่อสถานการณ์ในการแก้ไขปัญหาตามมติที่ให้ดำเนินการ ๒) ขาดการติดตามและประเมินผลประสิทธิภาพของกลไก อสธจ. ตามกฎหมาย เพื่อนำข้อมูลมาพัฒนา ปัญหาและอุปสรรค การตรวจราชการ ๑) ข้อมูลที่ได้จากการตรวจราชการบางส่วน/หัวข้อ ยังไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของประเด็นงาน
กรอบการขับเคลื่อนกลไก อสธจ. ปี 2560 ร่าง กรอบการขับเคลื่อนกลไก อสธจ. ปี 2560
ร่าง กรอบการขับเคลื่อนกลไก อสธจ. ปี 2560 Goal: คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) เป็นกลไกขับเคลื่อนประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ Cluster กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ หมายถึง คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ดำเนินการได้ใน ๓ ส่วนหลัก คือ ๑) มีแผนการขับเคลื่อนมติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจนและมีการดำเนินการตามแผน ๒) มีผลการดำเนินงาน หรือรายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนการขับเคลื่อนมติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ๓) มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
อสธจ. อปท. ปชช. กระทรวง กรมอนามัย อสธจ. ศอ. 1 - 12 เลขาฯ จังหวัด รมว.มท. ปลัด มท. MOU รมว.สธ. ปลัด สธ. ผู้ตรวจฯ/สธน. กระทรวง Cluster 6 (สว. สอน. กอง ป. ศกม. Lab) คณะอนุกรรมการ ภายใต้ cluster 5 คณะ ทีมนิเทศกรม กรมอนามัย คกก.สธ. อธิบดีกรมอนามัย รายงาน/วิเคราะห์ศักยภาพ อสธจ./ข้อหารือ ข้อสั่งการ ศอ. 1 (เชียงราย : สร้างกลไก อสธจ. ระดับอำเภอ) ศอ. 6 (ปราจีนบุรี: บ่อหมักสิ่งปฏิกูล) ศอ. 8 (สกลนคร : บ่อหมักสิ่งปฏิกูล) นครพนม : การบริหารจัดการประชุม) ศอ. 12 (สตูล : การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 100% รพ.ในสังกัด กสธ. และการบริหารจัดการประชุม ยะลา : รณรงค์ปลอดโฟม ) ทีมนิเทศ ศอ. อสธจ. เขต บริการสุขภาพ ศอ. 1 - 12 มติเป็นรูปธรรม (ปี 58) สสจ. พี่เลี้ยง / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จังหวัด (ผวจ./ทจ.) อสธจ. เลขาฯ อปท. ข้อมูลสถานการณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อมของจังหวัด จังหวัด การขับเคลื่อนงาน/ แก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด สนับสนุน/สร้างความเข็มแข็ง สสอ. รพ. ภาคีเครือข่าย รพ.สต. อปท. อสม./แกนนำชุมชน การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของ ปชช. ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ปชช.
ระดับ อสธจ. ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอต่อการพัฒนา ๑) ขาดกลไกการประสานงานในระดับผู้บริหารของกระทรวง ผู้บริหารระดับกรม ส่วนภูมิภาค และจังหวัดในการสร้างความเข้าใจในกลไก อสธจ. บทบาทหน้าที่ระหว่างหน่วยงาน ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข ๑) สร้างกลไกความร่วมมือ ระหว่าง กมท. กสธ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีนโยบาย/ข้อสั่งการในการขับเคลื่อนงาน อสธจ. และหน่วยงานในระดับจังหวัด ๒) ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องยังไม่ทราบบทบาทที่ชัดเจนในคณะอนุกรรมการ อสธจ. (กลไก บทบาท อำนาจหน้าที่ตาม พรบ.สธ.) ๒) ชี้แจงบทบาทอำนาจหน้าที่ของ อสธจ ตาม กม.สธ. ผ่าน VDO conference โดยใช้กลไกคณะกรรมการสาธารณสุข ๓) ฝ่ายเลขานุการ/ผู้ช่วยเลขานุการ ขาดความรู้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๓) พัฒนาศักยภาพด้านกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (VDO conference) ๔) งบประมาณในการจัดประชุมและการดำเนินงานตามมติไม่เพียงพอ (ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญ) ๔) มีข้อเสนอเชิงนโยบายจากระดับกระทรวง เพื่อให้ความสำคัญและชี้แจงทำความเข้าใจ กับผู้บริหารในระดับจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนงาน อสธจ. 5) ขาดข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และข้อมูลการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับอำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และระดับประเทศที่เป็นระบบเดียวกัน ๕) ส่วนกลางพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในทุกระดับ ตั้งแต่ระบบอำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และระดับประเทศ ให้เป็นระบบเดียวกัน
ระดับ อสธจ. (ต่อ) ระดับ ศอ. ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอต่อการพัฒนา ๖) การดำเนินงานในการจัดประชุม อสธจ. ในปีงบประมาณ ๕๙ มีความล่าช้า ซึ่งอาจไม่บรรลุเป้าหมายให้มีการจัดประชุมไม่น้อยกว่า ๓ ครั้งต่อปี ๑) พัฒนาระบบงบประมาณ/นโยบายของกระทรวงต่อประเด็นงาน ระดับ ศอ. ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอต่อการพัฒนา ๑) ข้อมูลการรายงานของ ศอ. และแบบ ตก. (ผู้ตรวจราชการ) ไม่สอดคล้องกัน ส่งผลให้รายงานมีความล่าช้า เนื่องจากต้องทวนสอบข้อมูลกลับไปยัง จว. และ ศอ. (ผู้รับผิดชอบงาน) ๑) จัดทำคู่มืออธิบายแบบรายงาน และมีการสื่อสารต่อ ศอ. ให้เกิดความเข้าใจอย่างต่อเนื่อง โดยผ่าน VDO conference ๒) ศอ. รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน อสธจ. ต่อส่วนกลางค่อนข้างล่าช้า ไม่ทันต่อความต้องการของผู้บริหาร (เนื่องจากปี ๕๗-๕๘ ศกม. ตามจังหวัดโดยตรง และในปี ๕๙ ศอ. ต้องรวบรวมและรายงานมายัง ศกม.) ๒) มีระบบและกลไก/โปรแกรมการรายงาน และติดตามความก้าวหน้าตั้งแต่ระดับส่วนกลาง ศอ. และจังหวัด ๓) ศอ. ขาดการวิเคราะห์ความพร้อมของคณะอนุกรรมการสาธารณสุข (อสธจ.) ของจังหวัดในเขต เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานสนับสนุน อสธจ. ๓) จัดทำเกณฑ์การวิเคราะห์ความพร้อมของ อสธจ. ให้กับ ศอ.
ระดับส่วนกลาง การตรวจราชการ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอต่อการพัฒนา ๑) ขาดเครื่องมือ/งานวิจัย/องค์ความรู้ที่มีความเหมาะสมกับบริบทในพื้นที่ และทันต่อสถานการณ์ในการแก้ไขปัญหาตามมติที่ให้ดำเนินการ ๑) พัฒนางานวิจัย/เครื่องมือและนวัตกรรม ๒) ขาดการติดตามและประเมินผลประสิทธิภาพของกลไก อสธจ. ตามกฎหมาย เพื่อนำข้อมูลมาพัฒนา ๒) ติดตามประเมินผล/ถอดบทเรียน/R2R การตรวจราชการ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอต่อการพัฒนา ๑) ข้อมูลที่ได้จากการตรวจราชการบางส่วน/หัวข้อ ยังไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของประเด็นงาน ๑) จัดทำคู่มืออธิบายแบบตรวจราชการ และมีการสื่อสารต่อ ผู้นิเทศให้เกิดความเข้าใจ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4175, 0-2590-4219, 0-2590-4223, 0-2590-4256 โทรสาร 0-2591-8180
การดำเนินงาน อสธจ.เดือน เม.ย. – ก.ย. ปี 2559 ส่วนกลาง ศูนย์ อสธจ. สิ่งสนับสนุน - สนับสนุนส่งเสริมองค์ความรู้และคู่มือด้านกฎหมาย ให้เข้าใจบทบาทอำนาจหน้าที่แก่ ศอ. - เข้าเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินงาน อสธจ. ร่วมกับ ศอ. - รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงาน อสธจ. ต่อผู้บริหารในที่ประชุมกรมอนามัยทุกเดือน เพื่อเป็นการกระตุ้นการดำเนินการ - จัดทำฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน อสธจ. รอบ ๖ เดือน และ ๑๒ เดือน - จัดระดับจังหวัดที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน อสธจ. - สรุปผลการดำเนินงาน อสธจ. ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ - มีการวิเคราะห์ความพร้อมของคณะอนุกรรมการสาธารณสุข (อสธจ.) ของจังหวัดในเขตและมีการจัดทำแผนการดำเนินงานสนับสนุน อสธจ. - เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อคิดเห็นในการประชุมอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของจำนวนการประชุมของแต่ละจังหวัด - มีการติดตามและสรุปรายงานผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) - มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงานของฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) - มีแผน/โครงการ/การจัดประชุม อสธจ. ไม่น้อยกว่า ๓ ครั้งต่อปี - มีมติจากการประชุมคณะอนุกรรมการอย่างน้อย ๒ เรื่องสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) เพื่อขับเคลื่อนประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม - มีแผนและผลการดำเนินงานตามมติ - มีรายงานความก้าวหน้าและสรุปผลการดำเนินการประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อมตามมติที่ประชุม อย่างน้อย ๒ เรื่อง - สนับสนุนคู่มือ ๑. การปฏิบัติงาน (สำหรับฝ่ายเลขานุการฯ) ๒. คู่มือข้อมูลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ๓. สื่อ คู่มือ องค์ความรู้ด้านกฎหมาย - ส่วนกลาง + ศอ. เข้าร่วมประชุมและเป็นที่ปรึกษาให้กับ อสธจ.
บทบาทการขับเคลื่อน อสธจ. ปี ๖๐ ส่วนกลาง ศูนย์ อสธจ. สิ่งสนับสนุน - จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อผลักดันงาน อสธจ. ต่อปลัด สธ. - สนับสนุนส่งเสริมองค์ความรู้และคู่มือด้านกฎหมาย/วิชาการให้แก่ ศอ. และ อสธจ. - เข้าเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินงาน อสธจ. ร่วมกับ ศอ. - รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงาน อสธจ.ต่อ cluster และผู้บริหารในที่ประชุมกรมอนามัยเพื่อเป็นการกระตุ้นการดำเนินการ - จัดทำระบบกลไกการติดตามประเมินผลและฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน อสธจ. - จัดทำเกณฑ์เพื่อจัดระดับจังหวัดที่มีการดำเนินงาน อสธจ. ดีเด่น เพื่อพัฒนาให้เป็น อสธจ. ต้นแบบ - สรุปผลการดำเนินงาน อสธจ. ปีงบ ๖๐ - จัดเวที อสธจ. Forum - พัฒนาโปรแกรมรายงานผลการดำเนินงาน - พัฒนาศักยภาพ ศอ. ด้านกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (VDO conference) - มีการวิเคราะห์ความพร้อมของคณะอนุกรรมการสาธารณสุข (อสธจ.) ของจังหวัดในเขตและมีการจัดทำแผนการดำเนินงานสนับสนุน อสธจ. - เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อคิดเห็นในการประชุมอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด อย่างน้อย ๘๐ ของจำนวนการประชุมของแต่ละจังหวัด - มีการติดตามและสรุปผลการดำเนินงานตามมติของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) - ศอ พัฒนาศักยภาพจังหวัดให้สามารถจัดการตนเองได้ และเป็นพี่เลี้ยงให้กับ จว. อื่นในเขตบริการสุขภาพ - ศอ. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ ถอดบทเรียนการดำเนินงาน อสธจ. ในพื้นที่ - จัดระดับจังหวัดที่มีการดำเนินงาน อสธจ. ดีเด่น เพื่อพัฒนาให้เป็น อสธจ. ต้นแบบ - พัฒนาศักยภาพ สสจ. ด้านกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (VDO conference) คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ดำเนินการได้ใน ๒ ส่วนหลัก คือ ๑) มีแผนการขับเคลื่อนมติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจนและมีการดำเนินการตามแผน ๒) มีผลการดำเนินงาน หรือรายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนการขับเคลื่อนมติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม - สนับสนุนคู่มือ ๑. การปฏิบัติงาน (สำหรับฝ่ายเลขานุการฯ) ๒. คู่มือข้อมูลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ๓. สื่อ คู่มือ องค์ความรู้ด้านกฎหมาย - โปรแกรมรายงานผลการดำเนินงาน - E-learning
กรอบการขับเคลื่อน อสธจ. ปี 60 กรมอนามัย ศูนย์อนามัย อสธจ. เลขาฯ การขับเคลื่อนงาน/ แก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด อปท. สสจ. จังหวัด ปชช. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของ ปชช. ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ข้อมูล และสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมของจังหวัด คก.สธ. อธิบดีกรมอนามัย - ที่ปรึกษาด้านด้าน กม./วิชาการ - สนับสนุนคู่มือ/องค์ความรู้ - พัฒนาศักยภาพของ อสธจ. และ จนท.สธ นโยบาย/ข้อเสนอ กำกับดูแล/ติดตาม เข้าร่วมประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานของ อสธจ. Cluster 6 แต่งตั้งคณะทำงาน (คณะอนุกรรมการภายใต้ cluster 5 คณะ ) รวบรวมรายงานและวิเคราะห์ประเมินศักยภาพของ อสธจ. ขับเคลื่อนงาน - พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลและเฝ้าระวัง - พัฒนามาตรฐานและวิชาการ - พัฒนามาตรการทางกฎหมาย อสธจ.และระบบ EHA - พัฒนาศักยภาพบุคลากร รายงาน ต่อ cluster
System & Mechanism : ระดับชุมชนและเมือง ข้อมูล/เฝ้าระวัง เครือข่ายระดับนโยบาย Model Development EnH Provice /District Profile -ศพด. -โรงเรียน -โรงพยาบาล -ตลาด -สถานประกอบการฯ -วัดฯลฯ EnH City/ Community Profile ชุมชน เฝ้าระวังได้เอง ใช้มาตรการทางสังคม ชุมชนรู้สถานการณ์ รู้ปัญหา จัดลำดับความสำคัญ เฝ้าระวังได้ จัดการได้เสนอให้ท้องถิ่น แผนยุทธศาสตร์ชาติ Policy EHA ปลัด สธ. คกก.สธ / คกก อวล อปท. รพ.สต. อสม./แกนนำชุมชน ภาคีเครือข่าย DOH อสธจ. Regulate/Support DHS สสอ./ รพช./ Strategy Technical support Support EnH Cluster + 5 กลุ่ม + FIN + KISS + HR สสจ. Active Communities “ร่วมคิด ร่วมทำ จัดการได้” Empower ภาคีเครือข่าย แนวทาง/standard/บ่งชี้/เฝ้าระวัง/สื่อสาร/ชี้แนะอย่างมีส่วนร่วม Law/Guideline/Standard/ Technology/Surveillance/ Innvation/ EnH Country profile ธรรมนูญ ตำบล (สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) Tools /Guideline บ่งชี้/เฝ้าระวัง/สื่อสาร/จัดการอย่างมีส่วนร่วม Building Capacity / KM / M & E ข้อมูล/เฝ้าระวัง
ประเด็นความเสี่ยงต่อความไม่สำเร็จของงาน รอบ ๖ เดือน ปัญหาด้านโครงสร้าง/การจัดการ/งบประมาณ 1. ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องยังไม่ทราบบทบาทที่ชัดเจนในคณะอนุกรรมการ อสธจ.บุคลากรผู้รับผิดชอบของฝ่ายเลขานุการมีค่อนข้างน้อย และมีภาระงานค่อนข้างมาก 2. งบประมาณในการบริหารจัดการไม่เพียงพอ องค์ความรู้/ระบบข้อมูล 1. ขาดความเข้าใจในบทบาทที่จะเป็นหน่วยงานหลักที่จะทำการประสาน เชื่อมโยง ขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน 2. ระบบข้อมูล สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์เต็มที่ในการนำเป็นประเด็นเข้าสู่ที่ประชุม อสธจ. เนื่องจากยังไม่มีการเชื่อมโยงระดับอำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ ประเทศ อย่างเป็นระบบ กฎหมาย/ระเบียบ ๑. การบังคับใช้กฎหมายส่วนใหญ่กระทบกับฐานเสียงของผู้บริหารท้องถิ่น ทำให้ไม่ได้รับการสนับสนุนในการดำเนินการ เช่น เรื่องการจัดระเบียบตลาด การจัดระเบียบการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ
ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนา ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารระดับสูง 1) กรมอนามัยควรจัดทำกรอบและแนวทางการแก้ไขปัญหากรณีเหตุร้องเรียนในบทบาทหน้าที่ของ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 2) สร้างกลไกการประสานงานในระดับผู้บริหารของกระทรวง ผู้บริหารระดับกรม เพื่อเป็นกลไกในการสร้างความเข้าใจบทบาทระหว่างหน่วยงาน ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข ทำให้พื้นที่ทำงานได้ง่ายขึ้น 3) การให้การสนับสนุนด้านต่างๆ เช่น คน อุปกรณ์ ขวัญกำลังใจ ความก้าวหน้าในอาชีพ 4) ควรจัดให้มีระบบการจัดเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างเป็นระบบเดียวกัน 5) กรมอนามัยควรพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับอำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และระดับประเทศ ให้เป็นระบบเดียวกัน 6) กรมอนามัยควรสร้างกลไกการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสื่อสาร การสนับสนุนการดำเนินงานตามมติของ อสธจ. รวมถึงมีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยใช้เวที อสธจ. เป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินงานระดับจังหวัด