หมู่บ้านปรับเปลี่ยน พฤติกรรมลดโรคฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
มาตรฐานงานสุขศึกษา และการใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมู่บ้านปรับเปลี่ยน พฤติกรรมลดโรคฯ การพัฒนา หมู่บ้านปรับเปลี่ยน พฤติกรรมลดโรคฯ นางสาว เบญจมาศ สุรมิตรไมตรี ผู้อำนวยการกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

: คนไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ = มีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อวิเคราะห์ ประเมินการปฏิบัติและจัดการตนเอง รวมทั้งสามารถชี้แนะเรื่องสุขภาพส่วนบุคคล ครอบครัวและชุมชน เพื่อสุขภาพที่ดี เป้าหมายการพัฒนาด้านสาธารณสุข : คนไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ Health Literacy HL สะท้อนผลลัพธ์ของการทำงานสุขศึกษา HL ช่วยให้ผู้บริโภคบริการเข้าถึงและใช้บริการ ได้อย่างเหมาะสม HL ช่วยผู้บริโภคจัดการสุขภาพตนเองตาม แนวทางการรักษาได้ HL ช่วยผู้บริโภคควบคุมและจัดการปัจจัยเสี่ยง เพื่อการธำรงสุขภาวะ 6 องค์ประกอบ - การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ - ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ - การสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพ - การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง - การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศเพื่อ เสริมสร้างสุขภาพ - การจัดการเงื่อนไขของตนเอง เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ

ทักษะเพื่อนำไปสู่การมี Health Literacy S A M A R T MODEL ทักษะเพื่อนำไปสู่การมี Health Literacy

S = SEARCHING การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ เลือกแหล่งข้อมูลด้านสุขภาพ รู้วิธีการค้นหาและการใช้ อุปกรณ์ในการค้นหา ค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง สามารถตรวจสอบข้อมูลจากหลายแหล่งได้

A = ACKNOWLEDGE ความรู้ความเข้าใจ มีความรู้และจำในเนื้อหาสาระสำคัญด้านสุขภาพ สามารถอธิบายถึงความเข้าใจในประเด็นเนื้อหาสาระด้านสุขภาพในการที่จะนำไปปฏิบัติ

M = MASS COMMUNICATION ทักษะการสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพ สามารถสื่อสารข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพด้วยวิธีการพูด อ่าน เขียนให้บุคคลอื่นเข้าใจ สามารถโน้มน้าวให้บุคคลอื่นยอมรับข้อมูลด้านสุขภาพ

A = ANALYSIS ทักษะการตัดสินใจ กำหนดทางเลือกและปฏิเสธ/หลีกเลี่ยงหรือเลือกวิธีการปฏิบัติ เพื่อให้มีสุขภาพดี ใช้เหตุผลหรือวิเคราะห์ผลดี-ผลเสียเพื่อการปฏิเสธ/หลีกเลี่ยง/เลือก วิธีการปฏิบัติ สามารถแสดงทางเลือกที่เกิดผลกระทบน้อยต่อตนเองและผู้อื่น

R = RESERCH การรู้เท่าทันสื่อ สามารถตรวจสอบความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือของข้อมูลสุขภาพที่สื่อนำเสนอ สามารถเปรียบเทียบวิธีการเลือกรับสื่อเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับตนเองและผู้อื่น

T = TAKE ACTION การจัดการตนเอง สามารถกำหนดเป้าหมายและวางแผนการ ปฏิบัติสามารถปฏิบัติตามแผนที่กำหนดได้

เกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาระดับโลก สถานการณ์การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2558 ประชาชน อายุ 15-59 ปี ส่วนใหญ่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ อยู่ในระดับพอใช้ ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพ อยู่ในระดับไม่ดี เกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาระดับโลก แนวโน้ม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรอบการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ พลังขับเคลื่อนโดย..... * ชุมชนมีส่วนร่วม ในการพัฒนา สุขภาพ * บูรณาการความ ร่วมมือ ทุกภาคส่วน สร้างโอกาสการเรียนรู้ หลากหลายรูปแบบ ที่เหมาะสมกับประชาชน จัดปัจจัยแวดล้อม ทางกายภาพและสังคม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประเมินผล การดำเนินงานและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีศักยภาพ ในการดูแลสุขภาพตนเอง 1.มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ รู้จัก รู้จริง รู้แจ้ง แตกฉาน 2.มีพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง หมู่บ้าน : เป็นหมู่บ้านต้นแบบและเป็นแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน : ลดความแออัดด้านบริการรักษาพยาบาล ประเทศ : ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ครอบครัว : ความสัมพันธ์ที่ดี ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัว

เป้าหมายการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ เป้าหมายเชิงคุณภาพ เป้าหมายการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ 1.หมู่บ้าน ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ลดโรคฯ ต้นแบบ ระดับจังหวัด จังหวัดละ 4 แห่ง 2.พื้นที่เรียนรู้ การ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม สุขภาพ ระดับประเทศ 1 แห่ง 3.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯ ระดับดีเยี่ยม (พัฒนาต่อเนื่อง) เฉลิมพระเกียรติ อย่างน้อย จังหวัดละ 1แห่ง 4. หมู่บ้านปรับเปลี่ยน พฤติกรรมลดโรคฯ บูรณาการ หมู่บ้านจัดการสุขภาพ - ทุกหมู่บ้าน จำนวน 74,965 แห่ง - ทุกตำบล จำนวน 7,255 แห่ง เป้าหมายเชิงปริมาณ (ระดับดีมาก+ ระดับดีเยี่ยม)

การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยใช้เครื่องมือของกองสุขศึกษา และพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. โดยใช้เครื่องมือของกองสุขศึกษา 1.ประเด็นการประเมิน *ความรอบรู้ด้านสุขภาพ6องค์ประกอบ *พฤติกรรมสุขภาพ 2.เกณฑ์การประเมิน * ระดับพอใช้ (60- 80 %) * ระดับดีมาก (มากกว่า 80 %) 3.ผู้รับผิดชอบการประเมิน * สบส. 12 เขต ระดับดีมาก -ร้อยละ 70 ของประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับพอใช้ -ร้อยละ 70 ของประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในระดับพอใช้ ระดับดีเยี่ยม - ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับดีมาก - ร้อยละ 80ของประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในระดับดีมาก หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ พัฒนาต่อยอด หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ เฉลิมพระเกียรติ 1.พัฒนาตามกระบวนการ 7 ขั้นตอน 2.มีการประเมินการเปลี่ยนแปลงความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ( PRE-POST) 3.มีการประเมินระดับการพัฒนา( ระดับพัฒนา ระดับดี ระดับดีมาก ระดับดีเยี่ยม) โดยใช้แบบประเมินของกองสุขศึกษา 4.กองสุขศึกษานำรายชื่อหมู่บ้านปรับเปลี่ยนฯผลงานระดับดีเยี่ยม ทูลเกล้าถวายเป็นหมู่บ้าน ปรับเปลี่ยนลดโรคฯ เฉลิมพระเกียรติ

เกณฑ์การคัดเลือกหมู่บ้าน 1.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯต้นแบบระดับจังหวัด จังหวัดละ 4 แห่ง(304 หมู่บ้าน) -คัดเลือกจากหมู่บ้านจัดการสุขภาพในตำบลจัดการ สุขภาพในระดับดีขึ้นไป จากผลการประเมิน ในปี2558 (ข้อมูลจากงานสุขภาพภาคประชาชน) -ดำเนินการพัฒนาต่อยอดตามกระบวนการ 7 ขั้นตอน 2.พื้นที่เรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับประเทศจังหวัดละ 1 แห่ง (76หมู่บ้าน) คัดเลือกหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ -เคยเป็นต้นแบบหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯ ระดับจังหวัดและหรือระดับเขตมาก่อน - มีความพร้อมในการพัฒนา 3.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯระดับดีเยี่ยม (พัฒนาต่อเนื่อง) เฉลิมพระเกียรติ อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง - คัดเลือกหมู่บ้านที่มีการพัฒนาต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 จนถึงปัจจุบัน (ยกเว้นหมู่บ้านที่เคยส่งเข้าเวทีประกวดระดับเขตของกองสุขศึกษา) - ทำการประเมินเพื่อจัดระดับการพัฒนาของหมู่บ้านตามแบบประเมินหมู่บ้านปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ลดโรคฯ ของกองสุขศึกษา - รวมรายชื่อหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯที่อยู่ในระดับดีเยี่ยม เพื่อทูลเกล้า ถวายเป็น “ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ เฉลิมพระเกียรติ ””

“7 ขั้นตอน”: สู่หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ 3 . จัดทำแผน พัฒนา 2 . จัดทำข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ 1. สร้างและพัฒนา ทีมแกนนำฯ   4.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5. เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 6 .สร้างการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 7 .ประเมินผลสำเร็จและถอดบทเรียน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ขั้นที่ 1 : สร้างและพัฒนาทีมแกนนำฯ สร้างทีมแกนนำ -สร้างการรับรู้ -แต่งตั้งทีมแกนนำ -มอบหมายหน้าที่ โครงสร้างทีมแกนนำพัฒนาหมู่บ้าน จำนวน8-10 คน ประธาน/ รองประธาน/ เหรัญญิก/ ประชาสัมพันธ์/ เลขานุการและกรรมการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีส่วนร่วม รูปแบบการทำงานของทีมแกนนำ สื่อสารกัน

ขั้นที่ 2 : จัดทำข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ ขั้นที่ 2 : จัดทำข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ ประชากร/เศรษฐกิจ/สังคม/ ทุนทางสังคม ๑. ข้อมูลพื้นฐาน น้ำหนักตัวรอบเอว ค่าความดันโลหิต ค่าน้ำตาลในเลือด ค่า BMI ๒.สถานะสุขภาพ พฤติกรรมเสี่ยง3อ.2ส. 3.พฤติกรรมสุขภาพ สถานที่/ลานออกกำลังกาย/ ๔.ข้อมูล ปัจจัยเอื้อ

ขั้นที่ 3 : จัดทำแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จัดทำแนวทาง/แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ส่งผลต่อกลุ่มเป้าหมาย โดยยึดพฤติกรรมเสี่ยงที่ต้องการแก้ไข (3อ.2ส.) สร้างการเรียนรู้ และมีส่วนร่วม (เวทีประชาคม) ใช้ทรัพยากรที่มีในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ขั้นที่ 4 : จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม * สร้าง/พัฒนา นวัตกรรม การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ * จัดปัจจัยเอื้อ ต่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม * ส่งเสริมการ จัดตั้งกลุ่ม/ชมรม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * จัดกิจกรรม เสริมสร้างการเรียนรู้ -การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -การศึกษาดูงาน - สร้างแรงจูงใจ * การสื่อสาร สร้างการรับรู้/ตระหนัก บุคคลต้นแบบ เวทีชาวบ้าน เผยแพร่/รณรงค์สร้างกระแส

ขั้นที่ 5 : เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ วัตถุประสงค์ - ค้นหาพฤติกรรมสุขภาพ เสี่ยงของประชาชน - ติดตามสถานการณ์ แนวโน้มของ พฤติกรรมเสี่ยง กระบวนการเฝ้าระวังฯ - จัดทำแผนการเฝ้าระวังฯ - เก็บรวบรวมข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูล - แปลผลข้อมูล การใช้ข้อมูล ปรับกิจกรรม/วางแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ขั้นตอนที่ 6 :สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย * แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน * เพิ่มทักษะในการพัฒนาและขับเคลื่อน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รูปแบบการมีส่วนร่วม การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน

ครอบคลุมประเด็น 4 ด้าน 1. ด้านการบริหารจัดการ ขั้นที่7 : ประเมินผลสำเร็จและถอดบทเรียน ครอบคลุมประเด็น 4 ด้าน 1. ด้านการบริหารจัดการ 2. ด้านกระบวนการดำเนินงาน 4.ด้านผลกระทบ 3. ด้านผลผลิตและผลลัพธ์

การประเมินระดับการพัฒนา 16. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยในหมู่บ้าน ลดลง 15. ประชาชนมีค่า BMI/ รอบเอว/ระดับน้ำตาลในเลือด/ ความดันโลหิตสูงลดลง 14. เป็นแหล่งศึกษาดูงาน ระดับดีเยี่ยม 13.กลุ่มเป้าหมายมี HB ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 5) 12.กลุ่มเป้าหมายมี HLเพิ่มขึ้น(ร้อยละ 5) 11. มีบุคคลหรือครัวเรือนต้นแบบ10. มีและใช้นวัตกรรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 9.มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ ระดับดีมาก 7.มีการจัดปัจจัยเอื้อในหมู่บ้าน 8. มีมาตรการหรือข้อตกลงร่วม 6.มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5.มีแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ระดับดี 3. มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพเสี่ยง 4. มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 1. มีทีมพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนฯ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีม ระดับพัฒนา

การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประเด็น การประเมิน 1. ประชาชนวัยทำงานมี HL (ครอบคลุมประเด็น 1.การเข้าถึงข้อมูลและบริการ 2. ความรู้ความเข้าใจ 3. ทักษะการสื่อสาร 4. ทักษะการจัดการตนเอง 5.การรู้เท่าทันสื่อ 6. ทักษะการตัดสินใจปฏิบัติ) 2. กลุ่มวัยทำงานมี HB ที่ถูกต้อง (ครอบคลุมประเด็น พฤติกรรม 3อ.2ส.) กลุ่มตัวอย่าง สุ่มประเมินกลุ่มวัยทำงานอายุ15-59 ปี ในหมู่บ้านเป้าหมาย เครื่องมือประเมิน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาในการเก็บ การวิเคราะห์ข้อมูล - แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ (ของกองสุขศึกษา) รพ.สต. ร่วมกับ อสม./ แกนนำหมู่บ้าน สัมภาษณ์กับกลุ่มตัวอย่าง ตามแบบประเมิน หลังการดำเนินงาน ทุกกิจกรรมเสร็จสิ้น (ในช่วงไตรมาส4) รพ.สต. ร่วมกับ อสม./แกนนำหมู่บ้าน -วิเคราะห์ สรุปผล -คืนข้อมูลให้กับหมู่บ้าน -จัดทำฐานข้อมูล

ผลดีที่มี.....หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง 1. มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) รู้จัก รู้จริง รู้แจ้ง แตกฉาน 2. มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (Health Behavior) 3. ลดต้นทุนในการดูแลสุขภาพ ลดต้นทุนในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ความดัน โลหิตสูง ลดลงได้ถึง 3,937.47 บาท เฉลี่ย/ปี/คน (ผลการศึกษากองสุขศึกษา ,2556) ประชาชนครอบครัว : เป็นหมู่บ้านต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ : ชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ หมู่บ้านชุมชน หน่วยงาน/ สถานบริการ ด้านสาธารณสุข 1.มีฐานข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ ข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยง สำหรับออกแบบแผนและกิจกรรมการเสริมสร้างHLและHB ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน 2. ลดความแออัดด้านบริการรักษาพยาบาล : ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ลดความรุนแรงของโรคและลดโอกาสในการเกิดโรคแทรกซ้อน ทำให้ผู้รับบริการในโรงพยาบาลลดลง

แนวทาง วิธีการดำเนินงาน สืบค้น เรียนรู้ได้ที่ ... www.hed.go.th Technical Support แนวคิด ทิศทาง แนวทาง วิธีการดำเนินงาน การประเมินผล

ทิศทาง การพัฒนา Health Literacy Health Behavior ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาเพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ระดับจังหวัด ทิศทาง การพัฒนา Health Literacy Health Behavior สร้างกระแสและเตือนภัยข้อมูลสุขภาพ สร้างโอกาสการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบและเหมาะสมกับประชาชน สร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ในการขยายหมู่บ้านปรับเปลี่ยน ลดโรคฯ ให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ทุกตำบล สร้างและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ด้านสุขภาพ และพัฒนาต่อยอดเป็น “อุทยานการเรียนรู้สุขภาพ ”