หน่วยงานหลัก: สสจ./รพ./สสอ./รพสต. หน่วยงานร่วม:

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มาตรการ การบริหารและพัฒนากำลังคน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
People Excellence บุคลากรเป็นเลิศ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การดำเนินงานพัฒนาบุคลากร ปี 2561
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 รอบที่ 2
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ภารกิจด้าน อำนวยการ…………… ….…..
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
หน่วยงานที่มีการจัดทำแผนและดำเนินการตามแผน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยงานหลัก: สสจ./รพ./สสอ./รพสต. หน่วยงานร่วม: People Excellence กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรสาธารณสุขทุกประเภท ในสังกัด สสจ.กพ. (ยกเว้นลูกจ้างชั่วคราวรายวัน รายคาบ และจ้างเหมาบริการ) แผนงานที่ 10 เป้าหมาย /ตัวชี้วัด KPI : 54 -การผลิตและกระจายกำลังคนเหมาะสม, 55 -มีการพัฒนากำลังคนตามแผน, 56 -หน่วยงานมีการวิเคราะห์และนำผลประเมินดัชนีความสุขฯ ไปใช้ 57 -อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention Rate) (เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85) , 58 -หน่วยงานมีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ 54 55 56 57 58 สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน สถานการณ์ : บุคลากรด้านสาธารณสุข ได้รับการส่งเสริมให้มีระบบและสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ดี ด้วยกระบวนการในการบริหารจัดการกำลังคน ด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ เพื่อธำรงรักษาบุคลากรและสร้างความต่อเนื่องในระบบการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลในทุกระดับ ทุกสายงาน ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้อัตราการคงอยู่ของกำลังคนด้านสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ยุทธศาสตร์ /มาตรการ การบริหารจัดการข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพ การเสริมสร้างแรงจูงใจในการธำรงรักษา /การคงอยู่ของบุคลากร การประเมินดัชนีความสุขของคนทำงาน กิจกรรม หลัก สสจ.กพ. ปรับปรุงฐานข้อมูล HROPS และการพัฒนาทักษะการใช้งาน - ชี้แจงเรื่องกรอบอัตรากำลัง /การใช้กรอบอัตรากำลังเพื่อการ วางแผนกำลังคน - วิเคราะห์ข้อมูลกำลังคนภาพจังหวัด รพช./สสอ. - จัดทำฐานข้อมูลกำลังคนของหน่วยงาน - ใช้กรอบอัตรากำลัง วิเคราะห์ข้อมูลกำลังคน เพื่อการวางแผนกำลังคนของหน่วยงาน - ปฐมนิเทศผู้ปฏิบัติราชการใหม่ - เสริมสร้างแรงบันดาลใจแก่บุคลากรเพื่อให้เกิดองค์กรแห่งความสุข และธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ - พัฒนาเพิ่มสมรรถนะบุคลากร ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด และเสริมสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ ให้แก่บุคลากร สาธารณสุข - มีการกำหนดแผน - ปฐมนิเทศผู้ปฏิบัติราชการใหม่ของหน่วยงาน - เสริมสร้างแรงบันดาลใจแก่บุคลากรเพื่อให้เกิดองค์กรแห่งความสุข และธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ - พัฒนาเพิ่มสมรรถนะบุคลากร ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด/ บริบทของหน่วยงาน และเสริมสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ ให้แก่บุคลากรสาธารณสุข - ชี้แจงแนวทางการวัด/การนำ Happinometer ไปใช้ - ชี้แจงแนวทางวิเคราะห์ สังเคราะห์ผล และแนวทางการจัดทำ แผนพัฒนาความสุข - ดำเนินการตามแผนพัฒนาความสุข (สสจ.กพ.) - วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลประเมินดัชนีความสุขของคนทำงาน - จัดทำแผนพัฒนาความสุข - ดำเนินการตามแผนพัฒนาความสุข 55 57 58 56 54 55 57 58 56 57 58 56 57 58 54 55 57 58 56 57 58 54 55 57 58 55 57 58 56 56 57 58 54 55 57 58 55 57 58 56 57 58 56 57 58 54 55 57 58 55 57 58 ระดับความ สำเร็จ ไตรมาส 1 1.บริหารจัดการฐานข้อมูล HROPS มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2.มีการวิเคราะห์ข้อมูลการสูญเสียบุคลากร สธ. 3.มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลดัชนีความสุข 4.มีแนวทาง/แผนพัฒนาเพิ่มสมรรถนะบุคลากร ที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด/บริบทของ หน่วยงาน และเสริมสร้างความก้าวหน้าในสาย อาชีพให้แก่บุคลากรสาธารณสุข ไตรมาส 2 1.มีแผนกำลังคนด้านสุขภาพ 2.มีแผนเสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ 3. มีผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลดัชนีความสุข และนำเสนอผลต่อผู้บริหาร 4.มีผลการพัฒนาและส่งเสริมความก้าวหน้า แก่บุคลากร ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย ไตรมาส 3 1.มีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ 2. ดำเนินการตามแผนเสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ 3.มีการทำแผนพัฒนาความสุขของคนทำงาน (หน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงานไปใช้ ร้อยละ 60 ตั้งแต่ระดับ 4 ขึ้นไป) 4.มีผลการพัฒนาและส่งเสริมความก้าวหน้า แก่บุคลากร ร้อยละ 85 ของเป้าหมาย ไตรมาส 4 1.มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอคิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.วิเคราะห์อัตราคงอยู่ของบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3.1 มีการใช้แผนพัฒนาความสุขของคนทำงาน(หน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงานไปใช้ ร้อยละ 60 ตั้งแต่ระดับ 5 ขึ้นไป) 3.2 มีต้นแบบองค์กรแห่งความสุข 1 หน่วยงาน 4.วิเคราะห์อัตราบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด 54 55 57 58 54 55 57 58 57 58 57 57 57 56 56 57 56 55 56 55 56 55 55

54 ระดับความสำเร็จของเขตที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคน 1.โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ 54 ระดับความสำเร็จของเขตที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคน องค์ประกอบ ระดับ 3 ระดับ 4 1 แผนความต้องการพัฒนาเชื่อมโยง 4 ยุทธศาสตร์ ครอบคลุม 4 กลุ่ม ครอบคลุม 5 กลุ่ม 2 สร้างความร่วมมือกับสถาบันการผลิตในพื้นที่เขต ร้อยละ 60 ร้อยละ 80 3 งบประมาณการผลิตและพัฒนากำลังคน(เบิกจ่าย) ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย ร้อยละ 90 ของเป้าหมาย 4 บุคลากรได้รับการพัฒนาตามความต้องการของเขต ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย 5 ปัญหาการจัดการ (ข้อร้องเรียน/จำนวนขาดแคลน/จำนวนย้าย-ลาออก) <=ร้อยละ 20 ของภาพรวมกระทรวง <=ร้อยละ 15 ของภาพรวมกระทรวง ปี 61 เขตดำเนินการผ่านระดับ4 ครบ 5 องค์ประกอบ Small Success 3 เดือน 6 เดือน เขตผ่านข้อ 1-4 ระดับ3 9 เดือน เขตผ่านข้อ 1-5 ระดับ4 12 เดือน วิชาชีพ (7) แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบำบัด และนักวิชาการสาธารณสุข สหวิชาชีพ(14) นักรังสีการแพทย์ นักกิจกรรมบำบัด นักจิตวิทยา นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย นักเทคโนโลยีหัวใจฯ นักฟิสิกส์รังสี แพทย์แผนไทย นักโภชนาการ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการศึกษาพิเศษ นักกายอุปกรณ์ นักวิชาการอาหารและยา สนับสนุนวิชาชีพ(7) จพ.ทันตฯ จพ.เภสัชฯ จพ.เภสัชฯ จพ.สาธารณสุข จพ.เวชสถิติ จพ.วิทยาศาสตร์ จพ.รังสีฯ สายสนับสนุน(10) นวก./จพ.การเงินฯ นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป นวก.จพ.พัสดุ นิติกร นักสถิติ นวก.คอมพิวเตอร์ นวก./จพ.โสตฯ จพ.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ จพ.ธุรการ ผู้ทำหน้าที่บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต้น

55 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด การพัฒนาบุคลากร 1.โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ 55 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด การพัฒนาบุคลากร 1 แบบทางการ เช่น การบรรยาย การฝึกอบรม 2 แบบไม่เป็นทางการ เช่น การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง การสอนแนะ(Coaching) และการสอนงานอย่างใกล้ชิด กลุ่มเป้าหมาย จำนวนการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของ Service plan เขต-จว. /แผนงานโครงการต่างๆ ระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ /การพัฒนาบุคลากรทางการบริหาร ปี 61 จำนวนบุคลากรทั้ง5กลุ่มเทียบกับเป้าหมาย ร้อยละ 85 Small Success 3 เดือน 6 เดือน ร้อยละ 60 9 เดือน ร้อยละ 85 12 เดือน วิชาชีพ (7) แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบำบัด และนักวิชาการสาธารณสุข สหวิชาชีพ(14) นักรังสีการแพทย์ นักกิจกรรมบำบัด นักจิตวิทยา นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย นักเทคโนโลยีหัวใจฯ นักฟิสิกส์รังสี แพทย์แผนไทย นักโภชนาการ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการศึกษาพิเศษ นักกายอุปกรณ์ นักวิชาการอาหารและยา สนับสนุนวิชาชีพ(7) จพ.ทันตฯ จพ.เภสัชฯ จพ.เภสัชฯ จพ.สาธารณสุข จพ.เวชสถิติ จพ.วิทยาศาสตร์ จพ.รังสีฯ สายสนับสนุน(10) นวก./จพ.การเงินฯ นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป นวก.จพ.พัสดุ นิติกร นักสถิติ นวก.คอมพิวเตอร์ นวก./จพ.โสตฯ จพ.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ จพ.ธุรการ ผู้ทำหน้าที่บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต้น

56 ร้อยละของหน่วยงานที่นำ Happinometer ไปใช้ 2.โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข เป้าหมาย สสจ.กพ.ทุกหน่วยงาน 56 ร้อยละของหน่วยงานที่นำ Happinometer ไปใช้ ระดับการประเมินดัชนีความสุขของคนทำงาน ระดับ 1 มีการชี้แจงแนวทางการวัดและการนำดัชนีความสุขไปใช้ ระดับ 2 มีการสำรวจข้อมูล ระดับ 3 มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และนำเสนอผลต่อผู้บริหาร ระดับ 4 มีการทำแผนพัฒนาความสุขของคนทำงาน ระดับ 5 มีการใช้แผนพัฒนาความสุขของคนทำงาน ปี 61 หน่วยงานที่มีการประเมินระดับ5 ร้อยละ 60 Small Success 3 เดือน 6 เดือน หน่วยงานที่มีการประเมินระดับ3 ร้อยละ60 9 เดือน หน่วยงานที่มีการประเมินระดับ4 ร้อยละ60 12 เดือน หน่วยงานที่มีการประเมินระดับ5 ร้อยละ60 สสจ. รพ./สสอ./รพสต. สร้างทีมนักสร้างสุข ระดับ จว. ชี้แจง/อบรม การนำ Happinometer ไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการทำแผนพัฒนาความสุข ทำแผนพัฒนาความสุข (สสจ.กพ.) สร้างทีมนักสร้างสุข ระดับหน่วยงาน นำ Happinometer ไปใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการทำแผนพัฒนาความสุข (หน่วยงาน) ดำเนินการตามแผนพัฒนาความสุข

2.โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข PA 57 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) ปี 61 อัตราการคงอยู่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 Small Success 3 เดือน บริหารจัดการข้อมูลกำลังคนมีประสิทธิภาพ 6 เดือน การกำหนดแผน/กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากร 9 เดือน -คำเนินการตาม แผน -ติดตามผลการ ดำเนินงานตาม แผน 12 เดือน อัตราการคงอยู่ของบุคลากร บุคลากรสาธารณสุข ข้าราชการ ,พนักงานราชการ ,ลูกจ้างประจำ ,พนักงานกระทรวงสาธารณสุข และลูกจ้างชั่วคราว (ยกเว้น รายคาบ ,รายวัน และจ้างเหมา) สสจ. รพ./สสอ./รพสต. ปรับปรุงฐานข้อมูล HROPS ชี้แจง/อบรมการใช้กรอบอัตรากำลังและการวางแผนกำลังคน วางแผน/จัดกิจกรรมเสริมสร้างแรงบันดาลใจบุคลากร (สสจ.กพ.) ปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ ปรับปรุงฐานข้อมูลกำลังคนหน่วยงาน ใช้กรอบอัตรากำลังในการวิเคราะห์และการวางแผนกำลังคน วางแผน/จัดกิจกรรมเสริมสร้างแรงบันดาลใจบุคลากร (หน่วยงาน)

58 ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ 2.โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข 58 ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ ปี 61 อัตราการคงอยู่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 Small Success 3 เดือน หน่วยบริการสาธารณสุขมีการบริหารจัดการข้อมูลกำลังคนมีประสิทธิภาพ 6 เดือน ทุกเขต มีแผนกำลังคนด้านสุขภาพ 9 เดือน ทุกเขต มีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ 12 เดือน จว.ที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ(80%)ร้อยละ60 บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ บุคลากรสาธารณสุขที่มีอยู่จริงของหน่วยบริการ เมื่อเทียบกับกรอบอัตรากำลังที่ควรมี (ข้าราชการ ,พนักงานราชการ ,ลูกจ้างประจำ ,พนักงานกระทรวงสาธารณสุข และลูกจ้างชั่วคราว (ยกเว้น รายคาบ ,รายวัน และจ้างเหมา)) สสจ. รพ./สสอ./รพสต. ปรับปรุงฐานข้อมูล HROPS ชี้แจง/อบรมการใช้กรอบอัตรากำลังและการวางแผนกำลังคน วางแผนกำลังคน ดำเนินการตามแผนกำลังคน ปรับปรุงฐานข้อมูลกำลังคนหน่วยงาน ใช้กรอบอัตรากำลังในการวิเคราะห์และการวางแผนกำลังคน