ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กฎหมายพาณิชย์
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย ศึกษาผลสัมฤทธิ์ การจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้ Backward design เรื่องพื้นที่ผิว และปริมาตร ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้แบบ Backward design กับการเรียนรู้แบบปกติ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน กับวิธีการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการสอนแบบ Backward design 3. เพื่อพัฒนาชุดการสอนเรื่อง พื้นที่และปริมาตร

การออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward design หรือการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เป็นกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่กำหนดหลักฐาน การแสดงออกของผู้เรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ หรือตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังก่อน แล้วจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และแสดงความรู้ ความสามารถตามหลักฐานการแสดงออกของผู้เรียน/กิจกรรม

การวางแผนหนึ่งหน่วยการเรียนรู้มี 3 ขั้นตอนใหญ่ ๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่1 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้หรือประเด็นการเรียนรู้หรือ เป้าหมายการเรียนรู้ โดยการกำหนดประเด็นหัวเรื่อง หน่วยการเรียนรู้ กำหนดเป้าหมายการสอน ขั้นตอนที่2 จัดทำผังการประเมินหรือวิเคราะห์ร่องรอยผลงานที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน หรือกำหนดหลักฐานของการเรียนรู้ที่เป็นที่ยอมรับได้ ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบการเรียนรู้ โดยมีวิการเรียงเนื้อหาจากง่ายไปสู่เนื้อหาที่ยากขึ้น, เรียงลำดับก่อนหลัง, ตัวอย่างการประเมินจากกิจกรรมโครงงาน ก่อนจะประเมินครูต้องพิจารณาว่าจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้อะไรร่วมกับผู้เรียนบ้าง

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชัพชั้นปีที่ 1 ที่เรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ (2000-1402) จำนวน 112 คน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนที่ ลงทะเบียนเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ เลือกมา 2 กลุ่มเรียน จำนวน 52 คน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Consistency) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละข้อ กับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม) กำหนดเกณฑ์ค่า IOC. = 0.79 2. ค่าดัชนีความยากง่าย (Difficulty) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาค่าความยากง่ายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (P) ได้ค่าเท่ากับ 0.45

ส่วยเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ดำเนินการสอน แบบปกติกับนักเรียนที่สอนโดยการใช้ขุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย การทดสอบค่า (t-test) ที่ t (.05 , d.f. 25) = 4.54 วิธีการสอน คะแนนที่ได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วยเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำนวนนักเรียน 1. การสอนแบบปกติ 2. การใช้ชุดกิจกรรมการสอน Backward design 20.7692 23.6538 2.35470 2.22607 26

มีความพึงพอใจปานกลาง 4. ความพึงพอใจของนักเรียนเกี่ยวกับการใช้การสอนแบบปกติกับ การสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design รายการ ระดับความพึงพอใจ S.D. ความหมาย 1. ด้านเนื้อหา 1.1 วิธีการสอนแบบปกติ 1.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design  3.57 4.62 3.68 2.51 มีความพึงพอใจปานกลาง มีความพึงพอใจมาก 2. ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 วิธีการสอนแบบปกติ 2.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design 3.66 4.23  3.12 2.88 3. ด้านเวลาที่ใช้สอน 3.1 วิธีการสอนแบบปกติ 3.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design 3.74 4.20 2.85 2.45 ผลรวม 4.1 วิธีการสอนแบบปกติ 4.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design 3.65 4.35 3.21 2.61

สรุปผลการวิจัย 1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้แบบ Backward design กับการเรียนรู้แบบปกติ ของนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตสาสตร์พื้นฐานอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ พื้นที่และปริมาตร พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05

2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการรู้แบบ Backward design วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพหน่วยการเรียนรู้เรื่องพื้นที่และปริมาตร พบว่า มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.35

ข้อเสนอแนะ 1. ควรจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design กับนักเรียนทั้งหมดที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ หน่วยการเรียนรู้เรื่องพื้นที่และปริมาตร 2. ควรนำวิธีการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design ไปใช้กับหน่วยการเรียนรู้อื่นๆ

วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ