ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556 ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการดำเนินงานหมู่บ้านต้นแบบ บ้านศรีสวัสดิ์ หมู่ที่ ๕ ตำบลศรีแก้ว อำเภอเลิง นกทา จังหวัดยโสธร ผลการดำเนินงานหมู่บ้านต้นแบบ บ้านศรีสวัสดิ์ หมู่ที่ ๕ ตำบลศรีแก้ว.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2557 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ข้อมูลนำเสนอโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2562
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน การขับเคลื่อนภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ นางวิไลวรรณ ไกรโสดา ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน

หน่วยงานร่วมบูรณาการ 7 กระทรวง 23 หน่วยงาน 3 รัฐวิสาหกิจ 4 กองทุน สรุปสาระสำคัญแผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง (4,889.7511 ลบ.) หน่วยงานร่วมบูรณาการ 7 กระทรวง 23 หน่วยงาน 3 รัฐวิสาหกิจ 4 กองทุน เป้าหมาย เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีความสุข และมีรายได้เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1. ประชาชนในหมู่บ้านเป้าหมายมีรายได้ เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 2. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าถึงแหล่งทุน เพื่อการประกอบอาชีพหรือแก้ปัญหาหนี้สิน (ร้อยละ 100 : 2,131,363 ราย/แห่ง/องค์กร) 3. รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพิ่มขึ้น เฉลี่ยร้อยละ 10 ของปีที่ผ่านมา แนวทาง 1. สร้างสัมมาชีพชุมชนโดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. สร้างโอกาสประชาชนให้เข้าถึง แหล่งทุนและสร้างธรรมาภิบาล 3. พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ให้เป็นที่ต้องการของตลาด 4. ส่งเสริมช่องทาง การตลาด 1.1 จำนวนแผนชุมชนระดับตำบล 6,095 ตำบลมีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ 1.2 จำนวนประชาชนที่ได้รับการ ส่งเสริอาชีพ 471,780 ราย/ครัวเรือน 1.3 จำนวนกลุ่มอาชีพ/วิสาหกิจชุมชนที่ได้รับการพัฒนา 2,514 กลุ่ม 2.1 จำนวนประชาชน ผู้ประกอบการ กลุ่มอาชีพ องค์กรเกษตร สหกรณ์ สามารถเข้าถึงแหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ 2,115,513 ราย/แห่ง/องค์กร 2.2 จำนวนประชาชน เกษตรกรและ ผู้ยากจนที่สามารถแก้ปัญหาหนี้สิน 15,850 ราย 3.1 จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน 7,791 ผลิตภัณฑ์ 3.2 จำนวนผู้ประกอบการชุมชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพการผลิต ผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของตลาด จำนวน 15,195 ราย/กลุ่ม 4.1 จำนวนช่องทาง การตลาด 77,908 ครั้ง ตัวชี้วัด กรมการพัฒนาชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน/ สวทช./ ม.แม่โจ้/ มสธ. / มรภ.ศรีสะเกษ/ มรภ.อุดรธานี/ ม.วลัยลักษณ์/ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมการพัฒนาชุมชน ธ.ก.ส./ ธ.ออมสิน/ กองทุนพัฒนาสหกรณ์/ กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร/ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง/ กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน กรมการพัฒนาชุมชน ก.ส่งเสริมอุตสาหกรรม/ สกอ. / มรภ.เทพสตรี/ ม.บูรพา/ม.ธรรมศาสตร์/ม.ทักษิณ/ มรภ.พิบูลสงคราม/ก.ส่งเสริมสหกรณ์/ ก.ปศุสัตว์/ก.ประมง/สป.วท./ก.พัฒนาธุรกิจการค้า ก.วิทยาศาสตร์บริการ/ วว. กรมการพัฒนาชุมชน กรมการค้าภายใน กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ม.วลัยลักษณ์ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ 1,086.1511 ลบ. 2,451.5866 ลบ. 767.6844 ลบ. 584.3290 ลบ. เรื่องสำคัญ  บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบลในการสร้างสัมมาชีพชุมชน จำนวน 6,095 ตำบล ส่งเสริมการสร้างอาชีพให้แก่ประชาชน จำนวน 471,780 ราย พัฒนากลุ่มอาชีพ/วิสาหกิจชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งในการบริการจัดการ จำนวน 2,514 กลุ่ม 1,086.1511 ลบ. สร้างโอกาสให้ประชาชน กลุ่มอาชีพ องค์กรเกษตร และสหกรณ์ได้เข้าถึงแหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ จำนวน 2,115,513 ราย แก้ปัญหาหนี้สินให้แก่ประชาชนและเกษตรกรได้ จำนวน 15,850 ราย 2,451.5866 ลบ. เพิ่มประสิทธิภาพการบริการจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ จำนวน 7,791 ผลิตภัณฑ์ สนับสนุนให้มีการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ และมูลค่าเพิ่มขึ้น พัฒนาประสิทธิภาพและทักษะในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการชุมชน จำนวน 15,195 ราย 767.6844 ลบ. ส่งเสริมการขยายช่องทางการตลาด รวมถึงการจัดทำตลาดที่ใช้กลไกประชารัฐเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายในชุมชน จำนวน 77,908 ครั้ง 584.3290 ลบ.

บูรณาการแผนชุมชน 6,095 ตำบล 2 แนวทางที่ 1 สร้างสัมมาชีพชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (1,086,151,100 บาท) เป้าหมาย : ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ 23,589 หมู่บ้าน 471,780 คน/ครัวเรือน พช. 1 บูรณาการแผนชุมชน 6,095 ตำบล 2 สร้างสัมมาชีพชุมชน 23,589 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ 471,780 คน/ครัวเรือน ปค. อบรมวิทยากรสัมมาชีพ 23,589 คน ปค. สนับสนุนวิทยากรจัดทำแผน สนับสนุนงบประมาณ (บางส่วน) เชื่อมโยงโครงการบรรจุในแผนท้องถิ่น กำกับดูแล/จัดทำ (กม.) ปค. แผนพัฒนา หมู่บ้าน/ชุมชน ส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งทุน ขึ้นทะเบียน OTOP หน่วยงานบูรณาการสนับสนุนในพื้นที่ตามภารกิจและความชำนาญเฉพาะ พช.  เตรียมวิทยากร โดยการค้นหาผู้นำอาชีพ /ปราชญ์หมู่บ้านละ 5 คน คัดเลือก 1 คน เป็นวิทยากรถ่ายทอดอาชีพ  ใช้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 11 แห่ง เป็นสถานที่ฝึกอบรม อปท.  เกษตร : เพิ่มศักยภาพวิสาหกิจชุมชน/ ให้ความรู้ด้านการเกษตร/การลดต้นทุนการผลิต  สวทช. : ถ่ายทอดเทคโนโลยี สู่ชนบท  ม.แม่โจ้ : ให้ความรู้บัญชีครัวเรือน/ สัตว์น้ำอินทรีย์  ม.สุโขทัย : ศูนย์เรียนรู้ทางไกลเศรษฐกิจพอเพียง  ม.วลัยลักษณ์ : วิถีประมงพื้นบ้าน พช. 3 จัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ และพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล (6,095 ตำบล) เลือกแผนตำบลไปจัดทำแผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพประจำหมู่บ้าน 117,945 คน  รวมผู้ประกอบอาชีพเดียวกัน (โดยสมาชิกจากหมู่บ้านเดียวกันหรือหลายหมู่บ้านก็ได้) จัดตั้งเป็นกลุ่มอาชีพ 2,360 กลุ่มเพื่อให้เกิดพลังในการทำงานด้านการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ  เพิ่มศักยภาพกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 154 แห่ง พช. อปท. แผนชุมชน ระดับตำบล จัดเข้าให้อยู่ในข้อบัญญัติ อปท.  หมู่บ้านละ 5 คน ประกอบด้วย ผู้นำอาชีพที่ผ่านการอบรม 1 คน กลับมาจัดทีมร่วมกับผู้นำอาชีพอีก 4 คน ที่คัดเลือกไว้ พช. พอช.+เอกชน ทำเอง ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชน/ผู้นำ ดำเนินการเอง พัฒนาและฝึกอบรมด้านสังคมและเศรษฐกิจ พช. ฝึกอบรมอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพ 471,780 ราย/ครัวเรือน ทำร่วม ประชาชน/ผู้นำของหมู่บ้าน/ตำบล ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ/ภาคเอกชน กษ.  ฝึกอบรมให้กลุ่มเป้าหมาย 471,780 คน จากหมู่บ้านละ 20 คน/ครัวเรือน (เฉลี่ยหมู่บ้านละ 153 ครัวเรือน คิดเป็น 13 %)  ใช้ศูนย์เรียนรู้ชุมชน 904 แห่ง และบ้านปราชญ์ 23,589 แห่งเป็นสถานที่ฝึกอบรม ทำให้ โครงการที่เกินความสามาถ ของประชาชน/ผู้นำ ของชุมชน/ตำบล หน่วยงานต่าง ๆ/อปท. ทำให้  ส่งข้อมูลการสร้างสัมมาชีพชุมชน ให้หน่วยงานบูรณาการ  ทีมประชารัฐอำเภอ ติดตามและ สนับสนุน ให้ อปท. ด้วย ประชาชน 471,780 คน/ครัวเรือน ประกอบอาชีพตามที่ได้อบรม หน่วยต่าง ๆ

สวัสดี