ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ผู้วิจัย นายกัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน

ชื่อผู้วิจัย : นายโชติพัฒน์ องอาจ ชื่อสถาบัน : วิทยาลัยเทคโนโลยีเอเชีย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ชื่อเรื่องวิจัย : การประเมินเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกร ด้วยเกณฑ์การ ให้คะแนนแบบรูบริค ในรายวิชาภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ (3000-1101) ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเอเชีย ปีการศึกษา 2559

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาผลการประเมินบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกร ด้วยเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเอเชีย ปีการศึกษา 2559

เกณฑ์การให้คะแนน แบบรูบริค การพัฒนาบุคลิกภาพ การพูดแบบพิธีกร กรอบแนวคิดการวิจัย ตัว แปรต้น เกณฑ์การให้คะแนน แบบรูบริค การพัฒนาบุคลิกภาพ การพูดแบบพิธีกร ตัว แปรตาม

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาสาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีเอเชีย ที่เรียนรายวิชาภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ (3000-1101) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 นักศึกษาสาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีเอเชีย ที่เรียนรายวิชาภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ (3000-1101) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 11 คน ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง

เครื่องมือในการวิจัย เกณฑ์การให้คะแนนโดยใช้การเขียนรูบริค แบบแยกเป็นประเด็นย่อย โดยเทียบเกณฑ์การให้คะแนนกับประเด็นบุคลิกภาพทางการพูดที่ดี แบบประเมินบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกร บุคลิกภาพการพูด 6 ด้าน ได้แก่ การใช้สายตา การแสดงสีหน้า การแสดงท่าทางประกอบ การเคลื่อนไหว การแต่งกาย และการใช้ไมโครโฟน ใช้มาตราประมาณค่า และการพรรณาคุณภาพของเกณฑ์

เครื่องมือในการวิจัย ระดับคะแนน   ประเด็น การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค 4 3 2 1 การใช้สายตา สบสายตาผู้ฟังเป็นระยะ กวาดสายตาไปรอบๆ อย่างทั่วถึง สบสายตาผู้ฟังเป็นระยะ กวาดสายตาบ้าง สบสายตาผู้ฟังเป็นระยะ ไม่มีการกวาดสายตา ไม่สบสายตาผู้ฟัง การแสดงสีหน้า ยิ้มแย้มแจ่มใส มีสีหน้าสอดคล้องกับสถานการณ์และโอกาส ยิ้มแย้มแจ่มใส สีหน้าไม่สอดคล้องกับสถานการณ์และโอกาส ยิ้มแย้มแจ่มใสบ้าง แต่ไม่สม่ำเสมอตลอดการพูด ไม่มีการแสดงออกทางสีหน้า การแสดงท่าทางประกอบ มีการใช้มือและแขนประกอบการอธิบาย และสัมพันธ์กับ สีหน้า แววตา ดูเป็นธรรมชาติและดึงดูดความสนใจของผู้ฟังได้ มีการใช้มือและแขนประกอบ การอธิบาย และสัมพันธ์กับ สีหน้า แววตา แต่ดูไม่เป็นธรรมชาติ มีการใช้มือและแขนประกอบการอธิบาย ยังไม่สัมพันธ์กับ สีหน้า แววตา ดูไม่เป็นธรรมชาติ ไม่มีการใช้มือและแขน ประกอบการอธิบาย

เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค ระดับคะแนน   ประเด็น การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค 4 3 2 1 การเคลื่อนไหว เคลื่อนไหวเป็นธรรมชาติ มีการเดินในลักษณะก้าวเท้า แล้วหยุดพูด เป็นระยะ ไม่ช้าหรือเร็วจนเกินไป เคลื่อนไหวเป็นธรรมชาติ มีการเดินในลักษณะก้าวเท้าช้าหรือเร็ว เกินไป เคลื่อนไหวเป็นธรรมชาติ แต่เดินตลอดเวลา ไม่มีการเคลื่อนไหว ยืนนิ่งกับที่ การแต่งกาย แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ สุภาพ สะอาดสะอ้าน ถูกกาลเทศะ แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ สุภาพ สะอาดสะอ้าน แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ สุภาพ แต่งกายไม่ถูกต้องตาม ระเบียบ ไม่สุภาพ การใช้ไมโครโฟน มีการทดสอบเสียงก่อนการใช้ ไมโครโฟนห่างจากปาก ในระยะเหมาะสม ไม่ก้มหน้า หรือเงยหน้าขณะใช้ไมโครโฟน มีการทดสอบเสียงก่อนการใช้ ไมโครโฟนห่างจากปาก ในระยะเหมาะสม ก้มหน้าหรือเงยหน้าขณะใช้ไมโครโฟน มีการทดสอบเสียงก่อนการใช้ ไมโครโฟนห่างจากปาก มาก หรือใกล้ปากเกินไป ก้มหน้าหรือเงยหน้าขณะใช้ไมโครโฟน ไม่มีการทดสอบเสียงก่อนการใช้ ไมโครโฟนห่างจากปาก มาก หรือใกล้ปากเกินไป ก้มหน้าหรือเงยหน้าขณะใช้ไมโครโฟน

การเก็บข้อมูล นำแบบประเมิน ไปใช้ประเมินในกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่อง การพูดแบบพิธีกร โดยนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแต่ละคนจำนวน 2 ครั้ง มีระยะเวลาในการประเมินห่างกันอย่าง น้อย 1 สัปดาห์ โดยนำผลการประเมินในครั้งแรกแจ้งให้นักศึกษาทราบก่อนเพื่อให้ทราบข้อ พบพร่อง-ข้อดี แล้วนำไปพัฒนาตนเองตามข้อแนะนำ แล้วจึงทำการประเมินครั้งที่สอง

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการให้คะแนนแบบรูบริค รายบุคคล   เกียรติศักดิ์ ศรีเมือง การประเมินครั้งที่ 1 การประเมินครั้งที่ 2 การใฃ้สายตา 1 3 การแสดงสีหน้า 2 การแสดงท่าทางประกอบ การเคลื่อนไหว การแต่งกาย 4 การใช้ไมโครโน ภาพรวม 2.17 3.17

ตารางแสดงผลการประเมินบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกร โดยการให้คะแนนแบบรูบริค แยกตามบุคลิกภาพ 6 ด้าน ( ค่าเฉลี่ย ) ค่าเฉลี่ย การใช้สายตา การแสดงสีหน้า การแสดงท่าทางประกอบ การเคลื่อนไหว การแต่งกาย การใช้ไมโครโฟน การประเมินครั้งที่ 1 2.09 2.00 1.36 2.73 การประเมินครั้งที่ 2 3.18 2.82 2.91 3.00 3.09 พัฒนาการของนักศึกษา +1.09 +0.82 +1.46 +0.27

ตาราง แสดงผลการเปรียบเทียบ การให้คะแนนบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกร โดยการให้คะแนน แบบรูบริค ภาพรวม ทั้ง 6 ด้าน ในการประเมินครั้งที่ 1 กับ ครั้งที่ 2 ผลการประเมิน จำนวนนักศึกษา ค่าเฉลี่ย S.D. t df sig การประเมินครั้งที่ 1 11 2.03 0.10 17.71* 9.00 0.00 การประเมินครั้งที่2 2.95 0.08

สรุปผลการวิจัย ผลการประเมินบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกรครั้งที่ 2 สูงกว่าการประเมินบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกรครั้งที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ .05 เกณฑ์ใช้งานง่ายชัดเจน/เห็นเป็นรูปธรรม ข้อมูลป้อนกลับ กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นเป้าหมายที่จะพัฒนา การให้คะแนนตรงตามสภาพจริง

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำเกณฑ์การให้คะแนนบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกรแบบรูบริค ไปใช้ ควรใช้เกณฑ์การให้คะแนนบุคลิกภาพการพูดแบบพิธีกร แบบรูบริค กับการให้คะแนนบุคลิกภาพในการพูดรูปแบบอื่นๆ เช่น การพูดในโอกาสต่างๆ การพูดในงานอาชีพ เป็นต้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการให้คะแนนการพูดในประเด็นอื่นๆ ที่ต้องการความชัดเจน และเห็นเป็นรูปธรรม ไม่เกิดข้อโต้แย้งในการให้คะแนน และมีข้อมูลป้อนกลับให้นักศึกษาเพื่อการพัฒนา เช่น การใช้ถ้อยคำในการพูด การลำดับความ การออกเสียง เป็นต้น

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ขอบคุณครับ ควรนำวิธีการให้คะแนนแบบรูบริคไปใช้ในการประเมินทักษะทางภาษาไทยในด้านอื่นๆ ได้แก่ ทักษะด้านการฟัง การอ่าน และการเขียน