งาน Palliative care.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
รายงานผลการดำเนินงาน
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
COC.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
การนิเทศจังหวัด รอบ 2 ปี 2561
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
Service plan :RDU-AMR ปี 60 ไตรมาส 2 จังหวัดเชียงใหม่
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งาน Palliative care

สถานการณ์ มาตรการ Essential Task ปี 2560 (GAP) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1) ในระดับชุมชน ยังไม่มีการดำเนินงาน Palliative care ที่ชัดเจน และครอบคลุม พัฒนาระบบการดูแล Palliative care ในชุมชน ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยเน้นตำบลนำร่อง 1.มีตำบลได้รับการ คัดเลือกในการดำเนินงาน Palliative care อย่างน้อย 1 ตำบล 2.มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน 3.มีคณะทำงานการดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายในชุมชน 4.มีแผนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องร่วมกันระหว่าง รพ.กับชุมชนอย่างไร้รอยต่อ 1.มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน 2.มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของทีม Palliative care อำเภอ 3.มีรายงานการดำเนินงาน Palliative care ในชุมชนทุก 3 เดือน 2.มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของ Palliative care ในชุมชนโดยทีมนิเทศ หรือพี่เลี้ยงระดับจังหวัดหรือโซน 2.มีตำบลต้นแบบในการดูแล Palliative care ในชุมชนอย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล ผลงาน 6 เดือน -มีตำบลต้นแบบในการดูแล Palliative care อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล : มี 23 อำเภอ ขาด 2 อำเภอ คือ เมือง และดอยเต่า ยังไม่ได้กำหนดตำบลนำร่อง Palliative care คิดเป็นร้อยละ 92 -มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน: มี 22 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 88(ขาดเวียงแหง ดอยเต่า จอมทอง) -มีคณะทำงานการดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายในชุมชน : มี 21 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 84 (ขาดเวียงแหง อมก๋อย ดอยเต่า แม่แตง) -มีแผนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องร่วมกันระหว่าง รพ.กับชุมชนอย่างไร้รอยต่อ : มี 22 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 88 (ขาดดอยเต่า แม่อาย แม่แตง) -มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของทีม Palliative care อำเภอ : มี 8 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 32 (มีสะเมิง พร้าว สันป่าตอง แม่ออน สันทราย ไชยปราการ สันกำแพง ดอยหล่อ) -มีรายงานการดำเนินงาน Palliative care ในชุมชนทุก 3 เดือน : มี 7 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 28 (มีเวียงแหง สะเมิง แม่ออน สันทราย ไชยปราการ สันกำแพง ดอยหล่อ)

ระบบการดูแล Palliative care ในโรงพยาบาลระดับ A,S,M1 สถานการณ์ มาตรการ Essential Task ปี 2560 (GAP) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2)มีการดำเนินงาน Palliative care ใน โรงพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด ระบบการดูแล Palliative care ในโรงพยาบาลระดับ A,S,M1 -มีคณะกรรม/ศูนย์การดูแลแบบประคับประคองที่ประกอบด้วยบุคลากรสหสาขาที่เกี่ยวข้อง -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care -มีการกำหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล -ประเมินตามรอบ 3 เดือน -มีการจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองเป็นหน่วยบริการหนึ่งในกลุ่มงานการพยาบาล มอบหมายให้พยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care รับผิดชอบเต็มเวลา -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ ในเกณฑ์ได้รับ การดูแลตาม แนวทาง Palliative Care >ร้อยละ 50 -ประเมินผลตาม รอบ 6 เดือน -มีระบบบริการ หรือ Function การทำงาน เชื่อมโยงการดูแล ต่อเนื่องที่บ้าน - -ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน -มีการรักษา/บรรเทาด้วย Strong opioid medication >30 ของจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care และมีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย/การแพทย์ทางเลือก -มีแผน/โครงการ หรือกิจกรรม และดำเนินการร่วมกับองค์กรต่าง ๆ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รพ. ผลงาน 6 เดือน -มีคณะกรรม/ศูนย์การดูแลแบบประคับประคองที่ประกอบด้วยบุคลากรสหสาขาที่เกี่ยวข้อง : มีครบ 3 รพ.คิดเป็นร้อยละ 100 -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care :มีครบ 3 รพ.คิดเป็นร้อยละ 100 -มีการกำหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล:มีครบ 3 รพ.คิดเป็นร้อยละ 100 -มีการจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองเป็นหน่วยบริการหนึ่งในกลุ่มงานการพยาบาล มอบหมายให้พยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care รับผิดชอบเต็มเวลา:มี 1 รพ.ที่มีพยาบาลรับผิดชอบเต็มเวลาคือ รพ.นครพิงค์ (เต็มเวลาช่วงบ่ายทุกวันจันทร์-ศุกร์) อีก 2 รพ.ยังไม่ได้รับผิดชอบเต็มเวลา คือเป็นร้อยละ 33.33 -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care >ร้อยละ 50 :มี 2 รพ.ไม่มี 1 รพ. คิดเป็นร้อยละ 66.67 (ไม่มีคือ รพ.ฝาง)

-ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน สถานการณ์ มาตรการ Essential Task ปี 2560 (GAP) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3)มีการดำเนินงาน Palliative care ใน โรงพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด ระบบการดูแล Palliative care ในโรงพยาบาลระดับ M2,F1-3 -มีคณะกรรมการดูแลแบบประคับประคองที่ -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care -มีแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล -ประเมินตามรอบ 3 เดือน -มีหน่วยบริการดูแลแบบประคับประคองพร้อมพยาบาล ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ใน เกณฑ์ได้รับการ ดูแลตามแนวทาง Palliative Care > ร้อยละ 50 -ประเมินผลตาม รอบ 6 เดือน -มีระบบบริการหรือ Function การทำงาน เชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องที่ บ้าน -ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน -มีการรักษา/บรรเทาด้วย Strong opioid medication >20 ของจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care และมีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย/การแพทย์ทางเลือก -มีแผน/โครงการ หรือกิจกรรม และดำเนินการร่วมกับองค์กรต่าง ๆ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รพ. ผลงาน 6 เดือน -มีคณะกรรมการดูแลแบบประคับประคองที่ : มี 20 รพ.ไม่มี 1 รพ. คิดเป็นร้อยละ95.24 (ไม่มี รพ.อมก๋อย) -มีการแต่งตั้งเลขานุการซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative care :มี 19 รพ.ไม่มี 2 รพ.คิดเป็นร้อยละ90.48 (มีพยาบาลผู้รับผิดชอบงานแต่ยังไม่ผ่านการอบรมฯ)ไม่มี รพ.แม่วาง,กัลยาฯ -มีแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล:มี 20 รพ.ไม่มี 1 รพ.คิดเป็นร้อยละ95.24 (ไม่มี รพ.เวียงแหง) -มีหน่วยบริการดูแลแบบประคับประคองพร้อมพยาบาล ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care :มี 19 รพ.ไม่มี 2 รพ.คิดเป็นร้อยละ90.48 (มีพยาบาลผู้รับผิดชอบงานแต่ยังไม่ผ่านการอบรมฯ) :ไม่มี รพ.แม่วาง,กัลยาฯ -กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care >ร้อยละ 50 : มี 20 รพ.ไม่มี 1 รพ. คิดเป็นร้อยละ95.24 (ไม่มี รพ.เวียงแหง)

ขอบคุณค่ะ