เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.


ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
 จัดเตรียมแรงงานคุณภาพ ให้ตรงตามความต้อง ของภาคอุตสาหกรรม  จำเป็นต้องพัฒนาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถปฏิบัติได้จริง  หลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับฝีมือ.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีเกษมสันต์บริหารธุรกิจ
การพัฒนาระบบการให้บริการอินเทอร์เน็ตอัตโนมัติ โดยใช้รายการควบคุม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียน ให้เป็นคนดีของสังคม
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ปีการศึกษา 2557 นำเสนอโดย นางกนกวรรณ พัฒนเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี นำเสนอผลงานวิจัย ประเภทงานวิจัยสถาบัน

วัตถุประสงค์การวิจัย นำเสนอเนื้อหาดังนี้ 1 ชื่อเรื่องงานวิจัย / ชื่องานวิจัย / ชื่อสถาบันวิทยาลัย 2 วัตถุประสงค์การวิจัย 3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 4 ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ 5 สรุปผลการวิจัย 6 ข้อเสนอแนะ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร ต่อการให้บริการของห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี 2.เพื่อนำผลการวิจัยเป็นข้อเสนอแนะในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การให้บริการของห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 1.ประชากรที่เป็นนักเรียน นักศึกษา 2.ประชากรที่เป็น ครูและบุคลากร

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากรของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี อ.เมือง จ.นนทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 ประกอบด้วย 1.นักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 2,117 คน 2.นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำนวน 479 คน จำนวน 6 สาขา ได้แก่ สาขาการบัญชี สาขาการตลาด สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก สาขาธุรกิจท่องเที่ยว และสาขาภาษาต่างประเทศ จำนวนทั้งหมด 2,596 คน 3. ครูและบุคลากร จำนวน 180 คน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย

กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน นักศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีแบบแบ่งชั้นภูมิ (stratified random sampling) โดยใช้ตารางกำหนดของท่โร่ยามาเน่ (Taro yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน นักศึกษา จำนวน 311 คน ประกอบด้วย นักเรียนระดับ ปวช.จำนวน 250 คน และ นักศึกษาระดับ ปวส.จำนวน 61 คน ครูและบุคลากร จำนวน 124 คน รวมกลุ่ม ตัวอย่างทั้งหมด 435 คน 1.กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน นักศึกษา ได้จากการสุ่มโดยวิธีแบบแบ่งชั้นภูมิ (stratified random sampling) ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างตามขั้นตอนในการสุ่มดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ปรากฏว่าต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 311 คน กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน นักศึกษา

ประชากรที่เป็นครูและบุคลากร ขั้นตอนที่ 2 แบ่งกลุ่มนักเรียน เป็นชั้นภูมิตามลำดับของนักเรียน นักศึกษา แล้วสุ่มตัวอย่างแต่ละสาขาตามสัดส่วน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) 2.กลุ่มตัวอย่างที่เป็นครูและบุคลากร กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ปรากฏว่าต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 124 คน ประชากรที่เป็นครูและบุคลากร

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นทบุรี ผู้ตอบแบบสอบถาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวนประชากร จำนวน กลุ่มตัวอย่าง สาขาวิชาการบัญชี 273 27 สาขาวิชาการขาย 168 25 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 793 79 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 467 46 สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว 300 53 สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ 116 20 รวม 2,117 250

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 17 9 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 135 ผู้ตอบแบบสอบถาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำนวน ประชากร กลุ่มตัวอย่าง สาขาวิชาการบัญชี 152 15 สาขาวิชาการขาย 129 12 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 17 9 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 135 สาขาวิชาธุรกิจท่องเที่ยว 46 10 รวม 479 61 ผู้ตอบแบบสอบถาม ครูและบุคลากร ครูและบุคลากร 180 124 รวมทั้งหมด 2,776 435

ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ ต่อการให้บริการห้องสมุด ตารางที่ 1. ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ ของนักเรียน นักศึกษา ความพึงพอใจ ต่อการให้บริการห้องสมุด S.D ระดับ อันดับ 1.ด้านอาคารสถานที่ 4.33 0.75 มาก 2 2.ด้านวัสดุครุภัณฑ์ 4.10 0.90 4 3.ด้านวัสดุสารนิเทศ 4.19 0.77 3 4.ด้านการบริการของห้องสมุด 4.37 0.78 1 รวม 4.25 0.80 - จากตารางที่1. นักเรียน นักศึกษา มีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ( =4.25) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ด้านการบริการของห้องสมุด ( =4.37) ด้านอาคารสถานที่ ( =4.33) ด้านวัสดุสารนิทศ ( =4.19) และด้านวัสดุครุภัณฑ์ ( =4.10)

ต่อการให้บริการห้องสมุด ตารางที่ 2. ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ ของครูและบุคลากร ความพึงพอใจ ต่อการให้บริการห้องสมุด S.D ระดับ อันดับ 1.ด้านอาคารสถานที่ 4.55 0.67 มาก 2 2.ด้านวัสดุครุภัณฑ์ 4.22 0.55 4 3.ด้านวัสดุสารนิเทศ 4.04 1.00 3 4.ด้านการบริการของห้องสมุด 4.56 0.66 1 รวม 4.34 0.72 - จากตารางที่ 2. ครูและบุคลากร มีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ( =4.25) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ด้านการบริการของห้องสมุด ( =4.37) ด้านอาคารสถานที่ ( =4.33) ด้านวัสดุสารนิทศ ( =4.19) และด้านวัสดุครุภัณฑ์ ( =4.10)

ต่อการให้บริการห้องสมุด สรุปผลการวิจัย ความพึงพอใจ ต่อการให้บริการห้องสมุด นักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร รวม S.D. ระดับความพึงพอใจ อันดับ 1. ด้านอาคารสถานที่ 2. ด้านวัสดุครุภัณฑ์ 3. ด้านวัสดุสารนิเทศ 4. ด้านการบริการของห้องสมุด 4.33 4.10 4.19 4.37 0.75 0.90 0.77 0.78 มาก 2 4 3 1 4.55 4.22 4.04 4.56 0.67 0.55 1.00 0.66 มากที่สุด 4.44 4.16 4.12 4.47 0.71 0.73 0.89 0.72 4.25 0.80 - 4.34 4.30 0.76 จากตาราง พบว่าความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุดฯ โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน มีค่าเฉลี่ย 4.30

เมื่อจำแนกเป็นสถานภาพ พบว่า ผลการวิจัย พบว่า ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี พบว่า นักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร มีความพึงพอใจโดยส่วนรวมและรายด้านทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก ( =4.30) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน จากค่าเฉลี่ยมากไปค่าเฉลี่ยน้อย คือด้าน ด้านการบริการของห้องสมุด ( =4.47) ด้านอาคารสถานที่ ( =4.44) ด้านวัสดุครุภัณฑ์ ( =4.16) และด้านวัสดุสารนิเทศ ( =4.12) เมื่อจำแนกเป็นสถานภาพ พบว่า 1. นักเรียน นักศึกษา มีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ( =4.25) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ด้านการบริการของห้องสมุด ( =4.37) ด้านอาคารสถานที่ ( =4.33) ด้านวัสดุสารนิทศ ( =4.19) และด้านวัสดุครุภัณฑ์ ( =4.10)

2. ครูและบุคลากร มีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (=4 2. ครูและบุคลากร มีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (=4.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการบริการของห้องสมุดและด้านอาคารสถานที่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ด้านการบริการของห้องสมุด ( =4.56) ด้านอาคารสถานที่ ( =4.55) ด้านวัสดุครุภัณฑ์ ( =4.22) และด้านวัสดุสารนิเทศ ( =4.04) 3. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ระหว่างนักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร โดยส่วนรวมอยู่ในระดับมาก มีความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน

ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด ตารางการเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการให้บริการ ระหว่างนักเรียน และ ครู/บุคลากร ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด นักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร t S.D. S.D 1.ด้านอาคารสถานที่ 4.33 0.75 4.55 0.67 -1.55 2.ด้านวัสดุครุภัณฑ์ 4.10 0.90 4.22 0.55 -1.00 3.ด้านวัสดุสารนิเทศ 4.19 0.77 4.04 1.00 1.57 4.ด้านการบริการของห้องสมุด 4.37 0.78 4.56 0.66 -1.80 รวม 4.25 0.80 4.34 0.72 -0.70 จากตารางพบว่า ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ระหว่างนักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร มีความ พึงพอใจไม่แตกต่างกัน

ข้อเสนอแนะ 1. วิทยาลัยฯควรแต่งตั้งคณะกรรมการห้องสมุดและดำเนินงานห้องสมุดตามภารกิจดังกำหนดไว้ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุด พ.ศ.2549 ตามประกาศสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยและควรพัฒนาห้องสมุดให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานฯวัสดุสารนิเทศ โดยเฉพาะในด้านจำนวนหนังสือของห้องสมุด 2. ควรจัดให้มีจำนวนบุคลากรในห้องสมุดต้องมีให้เพียงพอต่อการให้บริการ ซึ่งในขณะนี้เจ้าหน้าที่มีจำนวนจำกัด ผู้บริหารควรสนับสนุนให้มีจำนวนบุคลากรให้เพียงพอ

จบการนำเสนอผลงานวิจัย และขอขอบพระคุณ คณะกรรมการทุกท่านค่ะ จบการนำเสนอผลงานวิจัย และขอขอบพระคุณ คณะกรรมการทุกท่านค่ะ นางกนกวรรณ พัฒนเดช ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ขอบพระคุณค่ะ