การปฏิบัติราชการ : หน้าที่ความรับผิดชอบ และสิทธิประโยชน์ การปฏิบัติราชการ : หน้าที่ความรับผิดชอบ และสิทธิประโยชน์ นำเสนอโดย นางสาวมะลิวัลย์ ขอพึ่งลาภ หัวหน้ากลุ่มงานสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
หัวข้อการบรรยาย การบริหารทรัพยากรบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การเลื่อนระดับ การย้าย กำลังคนคุณภาพระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง
สิทธิประโยชน์เกื้อกูล หัวข้อการบรรยาย เส้นทางก้าวหน้า Career Path สิทธิประโยชน์เกื้อกูล จรรยาข้าราชการ / วินัยข้าราชการ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ. ศ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ กำหนดตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ เป็น 4 ประเภท ได้แก่ ประเภททั่วไป : เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี ประเภทวิชาการ : นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ประเภทอำนวยการ : ผู้อำนวยการสำนัก/ศูนย์ ประเภทบริหาร : รองอธิบดี/อธิบดี
ตารางแสดงจำนวนอัตรากำลัง จำแนกตามสายงาน ตารางแสดงจำนวนอัตรากำลัง จำแนกตามสายงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2559 ที่ สายงาน จำนวนข้าราชการ ร้อยละ 1 นักบริหาร 3 0.25 12 บรรณารักษ์ 0.09 2 ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน 1.00 13 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 25 1.94 ผู้อำนวยการ 14 นักวิเทศสัมพันธ์ 0.17 4 นักวิชาการตรวจสอบภายใน 5 0.42 15 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 11 0.93 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี 981 83.09 16 นักวิชาการสถิติ 8 0.68 6 นักจัดการงานทั่วไป 10 0.76 17 เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี 35 3.64 7 นิติกร 0.51 18 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี นักทรัพยากรบุคคล 24 2.03 19 เจ้าพนักงานสถิติ 9 นักวิชาการเงินและบัญชี 20 เจ้าพนักงานธุรการ 27 2.45 นักวิชาการพัสดุ 21 นายช่างศิลป์ นักวิชาการเผยแพร่ 0.34 รวม 1,173 100
แผนผังโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการและอัตรากำลังของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (อธิบดี) ข้าราชการ = 1,173 5 พนักงานราชการ = 1,227 ** ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพัฒนาระบบบัญชี ตำแหน่งเลขที่ 5 1 1,252 * กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 5 1 * รองอธิบดี ลูกจ้างประจำ = 140 2 * กลุ่มตรวจสอบภายใน 5 1 * ผู้เชี่ยวชาญ 4 * กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม - 1. สำนักบริหารกลาง 55 2. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 30 3. สำนักแผนงาน และโครงการพิเศษ 30 4. สำนักมาตรฐานการบัญชี และการสอบบัญชี 29 5. สำนักส่งเสริมพัฒนา การบัญชีและถ่ายทอด เทคโนโลยี 29 18 30 7 10 8 17 - - - - ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล กลุ่มบริหารงานคลัง กลุ่มนิติการ กลุ่มประสานราชการ กลุ่มประชาสัมพันธ์ ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศและ ฐานข้อมูล กลุ่มตรวจสอบข้อมูลและบริการ สารสนเทศ กลุ่มระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ กลุ่มพัฒนาระบบตรวจสอบบัญชี คอมพิวเตอร์ ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มวิเคราะห์งบประมาณ กลุ่มติดตามและประเมินผล กลุ่มวิเทศสัมพันธ์ กลุ่มโครงการพิเศษ กลุ่มวิจัยและพัฒนา ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มมาตรฐานการบัญชี กลุ่มมาตรฐานการสอบบัญชี กลุ่มกำกับสหกรณ์ กลุ่มกำกับผู้สอบบัญชี กลุ่มพัฒนาระบบการเงินและการบัญชี ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มส่งเสริมพัฒนาการบัญชีครัวเรือน กลุ่มส่งเสริมพัฒนาการบัญชีชุมชน กลุ่มส่งเสริมพัฒนาการบัญชีตาม โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กลุ่มพัฒนาระบบการเรียนรู้ กลุ่มพัฒนาสมรรถนะผู้สอบบัญชี กลุ่มพัฒนาสมรรถนะบุคลากรเครือข่าย กลุ่มพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี สารสนเทศ 6.-15. สำนักงานตรวจ บัญชีสหกรณ์ที่ 1-10 982 1,147 25 123 * ผู้เชี่ยวชาญ ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ 77 จังหวัด - ฝ่ายตรวจสอบและแนะนำด้านการบัญชี หมายเหตุ ** ขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งประเภทวิชาการ เป็นระดับทรงคุณวุฒิ ณ 1 ตุลาคม 2559
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ 77 จังหวัด ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ สตท. 6 สตท. 5 สตท. 7 สตท. 4 สตท. 1 สตท. 3 สตท. 10 สตท. 2 สตท. 8 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ 77 จังหวัด ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 - 10 สตท. 9
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินผลสำเร็จของงานอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน ตลอดรอบการประเมิน ด้วยวิธีที่องค์กรกำหนด โดยเปรียบเทียบผลงานกับ เป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนการปฏิบัติราชการ ตามเกณฑ์มาตรฐานผลงานที่ ผู้บังคับบัญชาและผู้ปฏิบัติงานกำหนดร่วมกันไว้ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ผลสัมฤทธิ์ของงาน (Performance) สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (Functional Competency)
ผลสัมฤทธิ์ของงาน (Performance) ประเภทตัวชี้วัดผลงาน การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้พิจารณาจากตัวชี้วัดผลงานและ ค่าเป้าหมายที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้บังคับบัญชาเห็นชอบและตกลงร่วมกัน โดยอ้างอิงความสำเร็จตามตัวชี้วัดผลงาน และ/หรือหลักฐานที่บ่งชี้ ผลผลิตและผลลัพธ์ของงานได้อย่างเป็นรูปธรรม ประเภทตัวชี้วัดผลงาน แนวทางการพิจารณา ปริมาณ จำนวนผลงานหรือชิ้นงานที่ทำสำเร็จ คุณภาพ ความถูกต้อง ประณีต เรียบร้อยของผลงาน เปรียบเทียบกับมาตรฐานของงาน ความฉับไว / ทันการณ์ เวลาที่ใช้ปฏิบัติงานเทียบกับมาตรฐานที่กำหนด ความประหยัด / ความคุ้มค่า การประหยัดใช้วัสดุอุปกรณ์ ต้นทุน หรือค่าใช้จ่ายในการทำงาน การระวังรักษาเครื่องมือเครื่องใช้มิให้เสียหาย
การกำหนดจำนวนตัวชี้วัดเพื่อประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการกำหนดจำนวนตัวชี้วัดเพื่อประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการในส่วนภูมิภาค (มติที่ประชุม ผตท. 1 - 10 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556) ส่งเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2556 สังกัด / ตำแหน่ง / ระดับ การกำหนดจำนวนตัวชี้วัด หลัก * อิสระ** รวม 1 ฝ่ายบริหารทั่วไป (เจ้าพนักงานธุรการ) 1.1 ชำนาญงาน 2 3 กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี (นักวิชาการตรวจสอบบัญชี) 2.1 ปฏิบัติการ 2.2 ชำนาญการ 4 2.3 ชำนาญการพิเศษ 5 กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ (นักวิชาการตรวจสอบบัญชี) 3.1 ปฏิบัติการ 3.2 ชำนาญการ 3.3 ชำนาญการพิเศษ กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ (นักวิชาการตรวจสอบบัญชี) 4.1 ปฏิบัติการ 4.2 ชำนาญการ กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล (นักวิชาการตรวจสอบบัญชี) 5.1 ปฏิบัติการ 5.2 ชำนาญการ 6 ฝ่ายตรวจสอบและแนะนำด้านการบัญชี สตส. (เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี) 6.1 ชำนาญงาน 6.2 อาวุโส (นักวิชาการตรวจสอบบัญชี) 6.3 ปฏิบัติการ 6.4 ชำนาญการ 6.5 ชำนาญการพิเศษ 7 หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ 7.1 ชำนาญการพิเศษ 8 ผู้เชี่ยวชาญด้านการบัญชีและการสอบบัญชี 8.1 ชำนาญการพิเศษ / เชี่ยวชาญ หมายเหตุ กรม ฯ กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จำนวน 3 - 7 ตัวชี้วัด ตามลำดับสายการบังคับบัญชา และความเหมาะสม โดยแยกออกเป็น * ตัวชี้วัดหลัก หมายถึง ตัวชี้วัดในงานหลัก แยกตามกลุ่ม / ฝ่าย และตำแหน่ง / ระดับ ** ตัวชี้วัดอิสระ หมายถึง ตัวชี้วัดในงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย การกำหนดจำนวนตัวชี้วัดเพื่อประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ข้าราชการในส่วนกลาง กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ตำแหน่ง / ระดับ การกำหนดจำนวนตัวชี้วัด 1 ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน ไม่น้อยกว่า 3 ตัวชี้วัด แต่ไม่เกิน 7 ตัวชี้วัด ระดับอาวุโส ไม่น้อยกว่า 4 ตัวชี้วัด แต่ไม่เกิน 7 ตัวชี้วัด 2 ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า 3 ตัวชี้วัด แต่ไม่เกิน 7 ตัวชี้วัด ระดับชำนาญการ ไม่น้อยกว่า 4 ตัวชี้วัด แต่ไม่เกิน 7 ตัวชี้วัด ระดับชำนาญการพิเศษ ไม่น้อยกว่า 5 ตัวชี้วัด แต่ไม่เกิน 7 ตัวชี้วัด
ผลสัมฤทธิ์ของงาน (Performance) ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงาน ตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบบัญชี ลำดับที่ ตัวชี้วัดรายบุคคล คำอธิบาย สูตรการคำนวณ / หลักฐานอ้างอิง น้ำหนัก หน่วยวัด คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละของจำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่สามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินได้ตามแผนการปฏิบัติงานสอบบัญชีประจำปี ในระบบแผนผลการปฏิบัติงาน (cad_plan 58 : PA / RA) จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่สามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินได้ตามแผนการปฏิบัติงานสอบบัญชีประจำปี ในระบบแผนผลการปฏิบัติงาน (cad_plan 58 : จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่สามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินได้ x 100 จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งสิ้นที่วางแผนการปฏิบัติงานสอบบัญชีประจำปี 40 ร้อยละ 80 85 90 95 100
ผลสัมฤทธิ์ของงาน (Performance) ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงาน ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล ลำดับที่ ตัวชี้วัดรายบุคคล คำอธิบาย สูตรการคำนวณ / หลักฐานอ้างอิง น้ำหนัก หน่วยวัด คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ระดับวามสำเร็จในการคัดเลือกข้าราชการ กรณีตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและชำนาญการพิเศษ เป็นไปตาม ว 10/2548 และ มีประสิทธิผล ขั้นตอนการดำเนินการคัดเลือกบุคคล (ในฐานะฝ่ายเลขานุการ) ครบถ้วน เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ. กำหนด รายงาน การประชุม - ประกาศรับสมัคร พร้อมแนบข้อมูลรายชื่อข้าราชการ ผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือก - รายงานผล - ประกาศผล - หนังสือแจ้งข้าราชการจัดส่งเอกสารประกอบ คำขอประเมิน - คำสั่งเลื่อนข้าราชการ - รายงานการติดตามผล 50 ระดับ - นำเสนอแนวทางการคัดเลือก จัดทำข้อมูลข้าราชการ ตรวจสอบเอกสารประกอบการคัดเลือกและคุณสมบัติบุคคล ประกาศรายชื่อ - ดำเนินการคัดเลือกและประชุมพิจารณาผลการคัดเลือก รายงานผลและประกาศ ผลการคัดเลือก - แจ้งให้ข้าราชการผู้ได้รับการคัดเลือกจัดทำผลงานตรงตามระยะเวลาที่กรมกำหนด - ให้คำปรึกษาแนะนำในการจัดทำ/จัดส่งผลงานให้เป็นไปตามแนวทางที่กรมกำหนด - ติดตามผลการแต่งตั้งข้าราชการ ให้ดำรงตำแหน่งที่ได้รับการคัดเลือก
สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ / ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่น ในองค์กร - สมรรถนะหลัก (Core Competency) คุณลักษณะร่วมของข้าราชการ พลเรือนไทยทั้งระบบ เพื่อหล่อหลอมค่านิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร่วมกัน กำหนดไว้ 5 สมรรถนะ - สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (Functional Competency) สมรรถนะ ที่กำหนดเฉพาะกลุ่มงาน เพื่อสนับสนุนให้ข้าราชการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม แก่หน้าที่และส่งเสริม ให้ปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ให้ได้ดียิ่งขึ้น โดยกำหนดให้แต่ละ กลุ่มงานมีสมรรถนะประจำกลุ่มงาน 3 สมรรถนะ
สมรรถนะ Competency สมรรถนะหลัก สมรรถนะเฉพาะ ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติสายงานหลัก (นวตบ.) สมรรถนะเฉพาะ ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติสายงานสนับสนุน (นทบ.) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การคิดวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์ การสั่งการ ตามอำนาจหน้าที่ การดำเนินการเชิงรุก การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรมและจริยธรรม การทำงานเป็นทีม ค่าน้ำหนัก 3.75 x 8 ตัว = 30 คะแนน
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลำดับที่ ตำแหน่ง สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี 1. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 2. การคิด วิเคราะห์ 3. การสั่งการ ตามอำนาจหน้าที่ 2 นักวิชาการเงินและบัญชี 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การตรวจสอบ 3. การดำเนินการ เชิงรุก 3 นักวิชาการตรวจสอบภายใน 4 นักวิชาการพัสดุ
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลำดับที่ ตำแหน่ง สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ 5 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 3. การดำเนินการ เชิงรุก 6 นักวิชาการสถิติ 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 3. การดำเนินการ เชิงรุก 7 นิติกร 1. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 2. การคิดวิเคราะห์ 3. การสั่งการตามอำนาจหน้าที่
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลำดับที่ ตำแหน่ง สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ 8 นักทรัพยากรบุคคล 1. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 2. การคิดวิเคราะห์ 3. การดำเนินการ เชิงรุก 9 นักวิชาการเผยแพร่ 1. การมองภาพ องค์รวม 2. การดำเนินการ 3. การตรวจสอบ 10 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 11 นักวิเทศสัมพันธ์ 12 นักจัดการงานทั่วไป
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลำดับที่ ตำแหน่ง สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ 13 บรรณารักษ์ 1. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 2. การคิดวิเคราะห์ 3. การดำเนินการ เชิงรุก ลำดับที่ ตำแหน่ง สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ 14 เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี 1. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 2. การคิดวิเคราะห์ 3. การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ 15 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การตรวจสอบ 3. การดำเนินการ เชิงรุก 16 เจ้าพนักงานพัสดุ
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลำดับที่ ตำแหน่ง สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ 17 เจ้าพนักงานสถิติ 1. การคิด วิเคราะห์ 2. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 3. การดำเนินการ เชิงรุก 18 เจ้าพนักงานธุรการ 1. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 2. การคิดวิเคราะห์ 3. การดำเนินการ เชิงรุก 19 นายช่างศิลป์ 1. การมองภาพ องค์รวม 2. การตรวจสอบ ความถูกต้อง ตามกระบวนงาน 3. การดำเนินการ เชิงรุก
1 2 3 4 5 - ตำแหน่งประเภท / ระดับ มาตรฐาน องค์ประกอบ ทั่วไป วิชาการ ตำแหน่งประเภท / ระดับ มาตรฐาน องค์ประกอบ ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน อาวุโส ทักษะพิเศษ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ ต้น สูง สมรรถนะ 3.1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1 2 3 4 5 หลัก 3.1.2 บริการที่ดี 3.1.3 การสั่งสมความเชี่ยวชาญ ในงานอาชีพ 3.1.4 การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรมและจริยธรรม 3.1.5 การทำงานเป็นทีม 3.3.1 การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน - เฉพาะตาม 3.3.2 การคิดวิเคราะห์ ลักษณะงาน 3.3.3 การสั่งการ ตามอำนาจหน้าที่ ที่ปฏิบัติ
การทำงานเป็นทีม (Teamwork) ความหมาย ความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับคนอื่น เป็นส่วนหนึ่งของทีม หน่วยงานหรือส่วนราชการ โดยผู้ปฏิบัติ มีฐานะเป็นสมาชิก ไม่จำเป็นต้องมีฐานะหัวหน้าทีม รวมทั้งความสามารถในการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม ระดับ การทำงานเป็นทีม (Teamwork) ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 1 ทำหน้าที่ของตนในทีมให้สำเร็จ สนับสนุนการตัดสินใจของทีม และทำงานในส่วนที่ตนได้รับมอบหมาย รายงานให้สมาชิกทราบความคืบหน้าของการดำเนินงานของตนในทีม ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของทีม 2 แสดงสมรรถนะที่ 1 และให้ความร่วมมือในการทำงานกับเพื่อนร่วมงาน สร้างสัมพันธ์ เข้ากับผู้อื่นในกลุ่มได้ดี ให้ความร่วมมือกับผู้อื่นในทีมด้วยดี กล่าวถึงเพื่อนร่วมงานในเชิงสร้างสรรค์และแสดงความเชื่อมั่นในศักยภาพของเพื่อนร่วมทีมทั้งต่อหน้าและลับหลัง 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม รับฟังความเห็นของสมาชิกในทีม และเต็มใจเรียนรู้จากผู้อื่น ตัดสินใจหรือวางแผนงานร่วมกันในทีมจากความคิดเห็นของเพื่อนร่วมทีม ประสานและส่งเสริมความสัมพันธภาพอันดีในทีม เพื่อสนับสนุนการทำงานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4 แสดงสมรรถนะที่ 3 และสนับสนุน ช่วยเหลือเพื่อร่วมทีม เพื่อให้งานประสบความสำเร็จ ยกย่อง และให้กำลังใจเพื่อร่วมทีมอย่างจริงใจ ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลแก่เพื่อร่วมทีม แม้ไม่มีการร้องขอ รักษามิตรภาพอันดีกับเพื่อนร่วมทีม เพื่อช่วยเหลือกันในวาระต่าง ๆ ให้สำเร็จ 5 แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสามารถนำทีมให้ปฏิบัติภารกิจให้ได้ผลสำเร็จ เสริมสร้างความสามัคคีในทีม โดยไม่คำนึงถึงความชอบหรือไม่ชอบส่วนตน คลี่คลาย หรือแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในทีม ประสานสัมพันธ์ สร้างขวัญกำลังใจของทีมเพื่อปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการให้บรรลุผล
องค์ประกอบการประเมิน สรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (รอบที่ 1 : 1 ตุลาคม 2558– 31 มีนาคม 2559) องค์ประกอบการประเมิน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (ก) X (ข) องค์ประกอบที่ 1 : ผลสัมฤทธิ์ของงาน 95 70% 66.50 องค์ประกอบที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) 93 30% 27.90 องค์ประกอบอื่น (ถ้ามี) - รวม 100% 94.40 ระดับผลการประเมิน ดีเด่น ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง
ข้อควรคำนึง กฎว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือน พ.ศ. 2552 กำหนดเกี่ยวกับการลา ที่จะมีผลต่อการเลื่อนขั้นเงินเดือนว่าในแต่ละรอบการประเมิน คือ ครึ่งปีที่แล้วมา (ครึ่งปีแรก 1 ต.ค. – 31 มี.ค. หรือครึ่งปีหลัง 1 เม.ย. – 30 ก.ย.) จะต้องมีวันลาไม่เกิน 23 วันทำการ เว้นแต่การลา ดังต่อไปนี้ - ลาอุปสมบท/ลาไปประกอบพิธีฮัจย์ โดยได้รับเงินเดือนในระหว่างการลา - ลาคลอดบุตรไม่เกิน 90 วัน - ลาป่วยไม่เกิน 60 วัน - ลาพักผ่อน - ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล - ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ
การเลื่อนระดับตำแหน่ง บริหาร วิชาการ อำนวยการ ระดับต้น ระดับสูง ทั่วไป ทรงคุณวุฒิ ชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติการ ชำนาญการ เชี่ยวชาญ ระดับสูง ระดับต้น อาวุโส ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน ทักษะพิเศษ การเลื่อนระดับตำแหน่ง
การเลื่อนระดับตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทวิชาการ เลื่อนระดับภายในกลุ่มตำแหน่งประเภทเดียวกัน เกณฑ์การเลื่อนระดับ ตัวอย่าง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับหน้าที่ความรับผิดชอบหลักของผู้ปฏิบัติงานถึง เกณฑ์ที่กำหนดไว้สำหรับตำแหน่งเป้าหมาย ระดับความรู้ที่จำเป็นในงานของตำแหน่งเป้าหมาย ระดับทักษะที่จำเป็นในงานของตำแหน่งเป้าหมาย ได้แก่ - การใช้คอมพิวเตอร์ - การใช้ภาษาอังกฤษ - การคำนวณ - การบริหารจัดการฐานข้อมูล ระดับสมรรถนะ ( Competency ) ที่จำเป็นในงานของตำแหน่งเป้าหมาย ประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งเป้าหมาย ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ปฏิบัติการ
คุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ ว ๑๐/๒๕๔๘ ๑. เป็นผู้ดำรงตำแหน่งในสายงานที่ประเมินไม่น้อยกว่า ๑ ปี (ต้นทุน) ๒. มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงาน ที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคล และระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ชำนาญการ ๖ ปี ๔ ปี ๒ ปี พิเศษ ๘ ปี คุณวุฒิ ระดับ
การส่งผลงานเพื่อคัดเลือก และเพื่อประเมินผลงาน (ตามนัยหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว 10 ลงวันที่ 15 กันยายน 2548) 1. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 2. ข้อเสนอแนวคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลในเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำ ในการดำรงตำแหน่งหรือสายงานอื่นที่เกื้อกูลกับตำแหน่งที่ประเมิน (อ.ก.พ. กรมมอบคณะกรรมการคัดเลือกพิจารณา)
เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ระดับสูง ผู้อำนวยการสำนักงาน / ผู้อำนวยการสำนัก / ผู้อำนวยการศูนย์ สายงานหลัก จำนวน 2 ตำแหน่ง 1. ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 – 10 2. ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี สายงานทั่วไป จำนวน 4 ตำแหน่ง 1. ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง 2. ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและโครงการพิเศษ 3. ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี 4. ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การดำเนินการกลุ่มที่ 1 ระยะสั้น (1 ต.ค.2557) 5. กษ. คัดเลือกและแต่งตั้ง 4. กรม ฯ เสนอรายชื่อผู้มีศักยภาพ 2 ราย ที่ผ่านเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit) ตามเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์ และผลงาน ไปยังกระทรวงฯ เพื่อเข้ารับการคัดเลือก (ตำแหน่งที่ว่าง) 3. กรมฯ คัดเลือกข้าราชการที่ผ่านเกณฑ์ Entry เป็นผู้มีศักยภาพ จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง 2. ข้าราชการที่มีคุณสมบัติ ผ่านเกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพ (Entry) 1. คณะทำงาน / คณะทำงานย่อย โดยผ่านความเห็นชอบของ อ.ก.พ. กรม กำหนดเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส.
การดำเนินการกลุ่มที่ 2,3 (ระยะปานกลาง,ระยะยาว) 6. กษ. คัดเลือกและแต่งตั้ง 5. กรม ฯ เสนอรายชื่อผู้มีศักยภาพ 1 - 2 ราย ที่ผ่านเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit) ตามเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์ และผลงาน ไปยังกระทรวงฯ เพื่อเข้ารับการคัดเลือก (ตำแหน่งที่ว่าง) 4. ผู้มีศักยภาพ ผ่านเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit) ของทุกกล่องสั่งสมประสบการณ์ (ระยะเวลา 5 ปี / 13 ปี) 3. กรมฯ บรรจุผู้มีศักยภาพ ตามเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน 2. กรมฯ พิจารณาคัดเลือกผู้มีศักยภาพ จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง 1. ข้าราชการที่มีคุณสมบัติ ผ่านเกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพ (Entry)
การดำเนินการ (สายงานหลัก) กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 การดำเนินการระยะสั้น เป็นระดับชำนาญการพิเศษ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 4 ปี การดำเนินการระยะปานกลาง มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี การดำเนินการระยะยาว เป็นระดับชำนาญการ มีประสบการณ์ย้อนหลัง 5 ปี ขึ้นบัญชี 3 ปี (1 ต.ค.2559 – 30 ก.ย.62) สั่งสมประสบการณ์ 5 ปี ขึ้นบัญชี 8 ปี (1 ต.ค.2559 – 30 ก.ย.2567) สั่งสมประสบการณ์ 13 ปี ขึ้นบัญชี 13 ปี (1 ต.ค.2559 – ก.ย.2572)
การดำเนินการ (สายงานทั่วไป) กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 การดำเนินการระยะสั้น เป็นระดับชำนาญการพิเศษ (ดำรงตำแหน่ง ผอ.กลุ่ม / หตส.) การดำเนินการระยะปานกลาง มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี การดำเนินการระยะยาว เป็นระดับชำนาญการ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 4 ปี มีประสบการณ์ย้อนหลัง 5 ปี ขึ้นบัญชี 3 ปี (1 ต.ค.2559 – 30 ก.ย.2562) สั่งสมประสบการณ์ 5 ปี ขึ้นบัญชี 8 ปี (1 ต.ค.2559 – 30 ก.ย.2567) สั่งสมประสบการณ์ 13 ปี ขึ้นบัญชี 13 ปี (1 ต.ค.2559 – ก.ย.2572)
คุณสมบัติผู้มีสิทธิคัดเลือก ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง High Performance and Potential System(HiPPS) คุณสมบัติผู้มีสิทธิคัดเลือก เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการหรือ ระดับชำนาญการ กรณีบรรจุและแต่งตั้งด้วยวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันต้องมีอายุราชการไม่น้อยกว่าสองปี หรือ กรณีบรรจุและแต่งตั้งด้วยคุณวุฒิปริญญาโท หรือปริญญาเอก หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันต้องมีอายุราชการไม่น้อยกว่าหนึ่งปี หรือ กรณีได้รับคุณวุฒิปริญญาโทหรือปริญญาเอกที่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งเพิ่มขึ้น ต้องมีอายุราชการไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
ต้องปฏิบัติราชการในส่วนราชการเจ้าสังกัดอย่างน้อย 1 ปี มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์และมีผลการปฏิบัติราชการในรอบปีที่ผ่านมา โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมากขึ้นไป มีความรู้และทักษะทางภาษาอังกฤษในระดับดีมากและทางคอมพิวเตอร์ในระดับที่ใช้งานได้ดี ผลคะแนนภาษาอังกฤษ CU-TEP ไม่ต่ำกว่า 600 คะแนน หรือ ผลคะแนน TOEFL ไม่ต่ำกว่า 500 คะแนน) ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ในระดับที่ส่วนราชการ เห็นว่าเหมาะสมเป็นอย่างน้อย เป็นผู้ที่มีศักยภาพที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนา เป็นผู้ที่มีความประพฤติดี ปฏิบัติตนอยู่ในจรรยาและระเบียบวินัย
การย้ายหมุนเวียนข้าราชการ ความหมาย การสั่งให้ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งหนึ่งไปดำรงตำแหน่งอื่นซึ่งเป็นตำแหน่ง ในระดับเดียวกันภายในหน่วยงานต่าง ๆ ของกรม ประกาศ/หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ประกาศกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2559 เรื่อง หลักเกณฑ์การย้ายและหมุนเวียนข้าราชการ ตั้งแต่ระดับชำนาญการพิเศษ ลงไป
ประเภทของการย้าย 1. การย้ายเพื่อประโยชน์ของทางราชการ มี 4 ลักษณะ คือ (ก) การย้ายตามกรอบอัตรากำลัง (ข) การย้ายหมุนเวียน (ค) การสับเปลี่ยน (ง) การย้ายเปลี่ยนสายงาน
1. การย้ายเพื่อประโยชน์ของทางราชการ (ต่อ) 1. การย้ายเพื่อประโยชน์ของทางราชการ (ต่อ) หลักเกณฑ์การพิจารณา (ก) ยึดหลักเหตุ และคำนึงถึงความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ และการพัฒนาข้าราชการ (ข) คำนึงถึงความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถ ความรับผิดชอบ ความประพฤติ และคุณลักษณะอื่นๆของข้าราชการที่จะย้ายให้เหมาะสม กับหน้าที่ ความจำเป็นในการปฏิบัติงานในตำแหน่งที่จะย้าย (ค) ความเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะ การปฏิบัติงานของกรม
ประเภทของการย้าย วิธีปฏิบัติ (ก) ผู้บังคับบัญชาระดับผู้อำนวยการสำนัก/ศูนย์ พิจารณาร่วมกับ ผู้บังคับบัญชาระดับต้น เสนออธิบดีเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง (ข) ย้ายตามลักษณะใดลักษณะหนึ่งของการย้ายเพื่อประโยชน์ของทาง ราชการ เมื่อปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งครบ 2 ปี (ค) การย้ายหมุนเวียน เพื่อสั่งสมประสบการณ์ในงานที่หลากหลาย กระทำทุก 4 ปี (ระดับชำนาญการพิเศษ) และทุก 8 ปี (ระดับชำนาญการ)
2. การย้ายตามคำร้องขอของข้าราชการ 2. การย้ายตามคำร้องขอของข้าราชการ หลักเกณฑ์การพิจารณา พิจารณาย้ายตามลำดับก่อน-หลัง ของหนังสือแสดงความจำนงขอย้าย แต่ทั้งนี้ จะต้องคำนึงถึงความจำเป็นและประโยชน์ของทางราชการด้วย วิธีปฏิบัติ (ก) ผู้ขอย้ายแสดงความจำนงขอย้ายเป็นหนังสือผ่านผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น ตามแบบที่กรมกำหนด เมื่อปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งครบ 1 ปี นับแต่ วันที่ไปรายงานตัว ยกเว้น หากมีเหตุผลความจำเป็นอย่างมาก เมื่อปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ได้รับ แต่งตั้งครบ 6 เดือน นับแต่วันไปรายงานตัว หากประสงค์จะขอย้ายให้แสดงความ จำนงขอย้ายเป็นหนังสือผ่านผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น โดยระบุเหตุผลความ จำเป็นให้ชัดเจนเพื่อประกอบการพิจารณา
2. การย้ายตามคำร้องขอของข้าราชการ (ต่อ) 2. การย้ายตามคำร้องขอของข้าราชการ (ต่อ) วิธีปฏิบัติ (ต่อ) (ข) กรมฯ จะขึ้นทะเบียนขอย้ายเรียงตามลำดับวัน เดือน ปี ที่กรมฯ ได้รับ หนังสือ หากยังไม่ได้รับการพิจารณาและผู้ขอย้ายประสงค์จะขอย้ายเพิ่มเติม กรมฯจะขึ้นทะเบียนเรื่องขอย้ายเพิ่มเติมให้ตามวันที่ได้รับหนังสือขอย้ายเพิ่มเติม (ค) เรื่องขอย้ายที่ขึ้นทะเบียนไว้ กรมฯ จะแจ้งความเคลื่อนไหวของการ พิจารณาให้ทราบทุกระยะหกเดือน (ง) ผู้ที่ได้รับการพิจารณาให้ย้ายแล้วกรมฯ จะตัดชื่อออกจากทะเบียน ขอย้ายทั้งหมด (จ) ต้องปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งใหม่อย่างน้อย 1 ปี จึงยื่น หนังสือขอย้ายครั้งใหม่
3. การย้ายตามความประสงค์ของข้าราชการ 3. การย้ายตามความประสงค์ของข้าราชการ หลักเกณฑ์การพิจารณา พิจารณาย้ายตามลำดับก่อน-หลัง ของหนังสือแสดงความประสงค์ขอย้าย เมื่อไม่มีผู้ที่ขอย้ายตามคำร้องขอ วิธีปฏิบัติ (ก)ผู้ประสงค์ขอย้ายจัดทำหนังสือแสดงความประสงค์ขอย้ายพื้นที่ในการปฏิบัติงาน ผ่านผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น เมื่อปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งครบ 1 ปี นับแต่วันที่ไปรายงานตัว ยกเว้น หากมีเหตุผลความจำเป็นอย่างมาก เมื่อปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ได้รับ แต่งตั้งครบ 6 เดือน นับแต่วันไปรายงานตัว หากประสงค์จะขอย้ายให้จัดทำหนังสือ ประสงค์ขอย้ายผ่านผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น โดยระบุเหตุผลความจำเป็น ให้ชัดเจนเพื่อประกอบการพิจารณา
4. การย้ายกรณีพิเศษ การย้ายกรณีพิเศษนี้ เป็นการย้ายนอกเหนือจากที่กล่าวมาในข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ รายงาน แต่งตั้ง กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคลสำนักบริหารกลาง คณะกรรมการประเมินฯ ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ ผู้บังคับบัญชา 1. ข้าราชการบรรจุใหม่เข้ารายงานตัว ณ กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล 2. รับการปฐมนิเทศ 1. มอบหมายงานเป็น ลายลักอักษร (เอกสารหมายเลข 1) 2. มอบหมายผู้ดูแลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ3. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินฯ (เอกสารหมายเลข 2) 1. มอบหมายงานเป็น ลายลักอักษร (เอกสารหมายเลข 1) 2. มอบหมายผู้ดูแลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ3. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินฯ (เอกสารหมายเลข 2) ประเมินครั้งที่ 1 และ ประเมินครั้งที่ 2 สั่งการ กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ สพถ. ผ่าน ไม่ผ่าน 1. ดำเนินการจัดส่งชุดวิชาการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. กำหนดตารางการฝึกอบรมการเรียนนรู้ด้วยตนเอง 3. บันทึกคะแนนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. จัดอบรมสัมมนาร่วมกัน ผู้ดูแลการทดลองฯ ให้รับราชการต่อไป ขยาย เวลาทดลอง ให้ออก จากราชการ 1. บันทึกผลการทดลองฯ(เอกสารหมายเลข 3) คู่มือการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซด์หน่วยงาน กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล
สรุปขั้นตอนการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ การประเมินครั้งที่ 1 1. คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการ (เอกสารหมายเลข 2) 2. แบบประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ (สําหรับคณะกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการ) (เอกสารหมายเลข 4) 3. แบบรายงานการประเมินผลการทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการ (สําหรับประธานกรรมการประเมินผล การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ) (เอกสารหมายเลข 5) 4. รายงานการประชุมคณะกรรมการประเมินผลการ ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ (เอกสารหมายเลข 6) การประเมินครั้งที่ 2 - 1. แบบประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ (สําหรับคณะกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่หน้าที่ราชการ) (เอกสารหมายเลข 4) 2. แบบรายงานการประเมินผลการทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการ (สําหรับประธานกรรมการประเมินผล การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ) (เอกสารหมายเลข 5) 3. รายงานการประชุมคณะกรรมการประเมินผลการ ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ (เอกสารหมายเลข 6)
การลาออกจากราชการ - การยื่นหนังสือขอลาออกจากราชการ ให้ยื่นล่วงหน้าก่อน วันลาออกไม่น้อยกว่า 30 วัน เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุผลความจำเป็น เป็นพิเศษ - กรณีที่เข้าข้อยกเว้น ต้องมีคำสั่งอนุญาตเป็นลายลักษณ์ อักษรก่อนวันขอลาออก พร้อมทั้งคำสั่งให้ออกจากราชการได้ * * ต้องเซ็นชื่อรับทราบคำสั่ง ก่อนจะออกจากราชการ
ขอบคุณมาก