งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี่ว่าด้วยการลา โดย คณะทำงานการจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน

2 การลาแบ่งเป็น 9 ประเภท 3. การลากิจส่วนตัว 4. การลาพักผ่อน
1. การลาป่วย 2. การลาคลอดบุตร 3. การลากิจส่วนตัว 4. การลาพักผ่อน 5. การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบ พิธีฮัจย์

3 6. การลาเข้ารับการตรวจเลือก หรือเข้ารับการเตรียมพล
7. การลาไปศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย 8. การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ 9. การลาติดตามคู่สมรส การลาทั้ง 9 ประเภท ใช้กับข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และ ลูกจ้างชั่วคราว แตกต่างกันในส่วนของการใช้สิทธิ เช่น ระยะเวลา และการลาโดยได้รับเงินเดือน/ค่าจ้าง และไม่ได้รับเงินเดือน/ค่าจ้าง

4 สิทธิการลา ลาป่วย ลาคลอดบุตร ประเภท ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ
ลูกจ้างชั่วคราว ลาป่วย ลาป่วยโดยได้รับเงินเดือน ลา 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์ ลาป่วยโดยได้รับค่าจ้างไม่เกิน 60 วันใน 1 ปี ลาป่วย ได้ไม่เกินปีละ 15 วัน ยกเว้นปีแรก บรรจุครบ 6 เดือน ลาได้ 8 วันทำการ ลาป่วยเหตุจากปฏิบัติราชการเพื่อรักษาตัว ลาได้ไม่เกิน 1 ปี ลาคลอดบุตร ลาได้ 90 วัน และลาเพื่อเลี้ยงดูบุตรได้อีก 150 วันโดยไม่รับเงินเดือน(ลากิจ) ลาได้ 90 วันและลาเพื่อเลี้ยงดูบุตรได้อีก 30 วันโดยได้รับเงินเดือน(นับเป็นลากิจ)ไม่มีสิทธิลาเพื่อเลี้ยงดูบุตร 150 วันเหมือข้าราชการ ลาได้ 90 วัน โดยรับเงินค่าจ้างจากหน่วยงาน 45 วัน และเงินผลประโยชน์ทดแทนจากประกันสังคม 45 วัน แต่ต้องเริ่มปฏิบัติงานครบ 7 เดือน จึงจะสามารถใช้สิทธินั้น

5 ลากิจส่วนตัว ลาพักผ่อน ประเภท ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว
ลาได้ 1 ปี ไม่เกิน 45 วันทำการปีแรกบรรจุได้รับค่าจ้าง 15 วันทำการ ลาได้ 1 ปี ไม่เกิน 45 วันทำการ ปีแรกบรรจุลา/ได้รับค่าจ้างไม่เกิน 15 วันทำการ ลาได้ แต่ต้องถูกหักเงินค่าจ้าง ลาพักผ่อน ลาได้ 10 วันต่อปี และสะสมได้อีก 10 วัน/ปี ถ้ารับราชการติดต่อกันตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป สะสมวันลาได้ 20 วัน/ปี รวมปีปัจจุบันไม่เกิน 30 วัน/ปี ลาได้ 10 วันต่อปีถ้าจ้างต่อเนื่อง การบรรจุปีแรก ต้อง เกิน 6 เดือน

6 ประเภท ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว
ลาอุปสมบทหรือประกอบพิธีฮัจย์ ลาได้ไม่น้อยกว่า 60 วัน ต้องกลับมารายงานตัว ภายใน 5 วันหลังจากกลับจากภาระกิจการลา ปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ได้รับค่าจ้างระหว่างลาไม่เกิน 120 วัน ลาได้ แต่ต้องถูกหักเงินค่าจ้าง ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล รายงานการลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนไปไม่น้อยกว่า 48 ชม.หลังได้รับหมายเรียก และรายงานตัวกลับภายใน 7 วัน มีเหตุจำเป็นขยายเป็น 15 วันได้ ต้องแสดจำนวนวันที่เดินทางไป-กลับและต้องอยู่เพื่อตรวจเลือกเท่าที่จำเป็นประกอบการพิจารณา และรายงานตัวกลับภายใน 7 วัน มีเหตุจำเป็นขยายเป็น 15 วันได้

7 ประเภท ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว
ลาไปศึกษาฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวิจัย เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับเพื่อพิจารณาอนุญาต และปฏิบัติตามระเบียบข้อปฏิบัติที่เกี่ยวกับข้องกับประเภทของการลานั้น ๆ ลาได้โดยอยู่ในดุลยพินิจของเจ้ากระทรวง การฝึกอบรมดูงานให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้าราชการ ลาได้ แต่ต้องถูกหักเงินค่าจ้าง ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ มีกำหนดเวลาไม่เกิน 4 ปี สำหรับการปฏิบัติงานประเภทที่ 1 และลาได้ไม่เกิน 1 ปี สำหรับการไปปฏิบัติงานประเภทที่ 2 ต้องได้รับอนุมัติจากกระทรวงการคลังก่อน ไม่ได้รับค่าจ้างระหว่างลา เว้นแต่ได้รับค่าจ้างต่ำกว่าอัตราที่ได้รับจากอัตราปกติของราชการให้ได้รับสมทบรวมแล้วไม่เกินที่เคยได้รับ

8 ประเภท ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว
ลาติดตามคู่ สมรส เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ลาได้ไม่เกิน 2 ปี กรณีจำเป็นต่อได้อีก 2 ปี ลาเกิน 4 ปี ให้ลาออกจากราชการไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา ลาได้ แต่ไม่ได้รับค่าจ้างระหว่างลา จำนวนวันอยู่ในดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชา ลาได้ แต่ต้องถูกหักเงินค่าจ้าง


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google