คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ นพ.วราวุธ ชื่นตา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. การบริหารการเงินการคลัง เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ ตัวชี้วัดหลัก การแก้ปัญหาและป้องกันการขาดสภาพ คล่องทางการเงิน “ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถ ควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของ หน่วยบริการในพื้นที่” (ไม่เกิน ร้อยละ 10 ) ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. คณะทำงานและกลไกการแก้ปัญหาการเงิน 2.หน่วยบริการมีการจัดทำและใช้แผนทางการเงิน (Planfin) 3.หน่วยบริการมีการจัดทำต้นทุนบริการ(Unit cost)และนำไปใช้ 4.หน่วยบริการมีการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการบริหารการเงินการคลังโดยใช้เกณฑ์ประเมิน Financial Adminitration Index : FAI
สถานการณ์ ค่าความเสี่ยงทางการเงิน จังหวัดชัยภูมิ ไตรมาสที่ 4/2558 (ณ 30 ก.ย. 58) ไตรมาสที่ 1/2559 (ณ 30 ธ.ค. 58) ระดับความเสี่ยง จำนวนโรงพยาบาล ร้อยละ 5 31.25 2 12.50 1 8 50.00 6.25 3 4 6 7 รวม 16 100.00
ผลการดำเนินงาน มาตรการที่สำคัญ ( QUICK WIN) มาตรการการดำเนินงานในพื้นที่ 3 เดือน ผลการดำเนินงาน 1.มีคณะทำงาน และกลไกการทำงานร่วมเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่ สำหรับ รพ.ที่มีปัญหา การเงิน - มีการตั้งคณะทำงานร่วมเพื่อแก้ปัญหาให้ รพ.ที่มีปัญหา การเงิน - มีการวิเคราะห์เพื่อ กำหนดประเด็นที่ เป็นปัญหา 2.หน่วยบริการ “มี” และ “ใช้” แผนทาง การเงิน (Planfin) เพื่อเป็นเครื่องมือในการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง หน่วยบริการ - แผนทางการเงิน (Planfin) ครบทุกหน่วยบริการ 100% (การ ตรวจสอบทางเว็บไซต์ planfin.cfo.in.th) 3.หน่วยบริการมีการพัฒนาการจัดทำต้นทุน บริการ Unit Cost เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการบริหาร - กำหนดแผนงาน/โครงการพัฒนาการ จัดทำต้นทุนหน่วยบริการของปี 2559 4.มีการพัฒนาระบบการประเมิน ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI มีผู้รับผิดชอบในการประเมิน FAI ทั้ง 4 กิจกรรม ส่งแล้ว รอการตรวจสอบจากส่วนกลาง
การสนับสนุนช่วยเหลือ หน่วยบริการที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน การสนับสนุนการปรับเกลี่ยเงินเดือน 4% ( 38 ล้าน ) ประชากร UC น้อยกว่า 35,000 คน เงินเดือนเกิน ค่าเฉลี่ย จังหวัด ประมาณการรายได้ รายจ่าย ขาดดุล สนับสนุน Hardship (9 ล้าน)
ประมาณการรายได้ ประมาณการค่าใช้จ่าย รายละเอียด รวมทั้งจังหวัด สัดส่วน % UC 1,492,364,660.19 49.39 ต้นทุนยา 390,885,976.80 13.04 EMS 4,794,000.50 0.16 ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ 190,419,778.55 6.35 รายได้ค่ารักษาเบิกต้นสังกัด 42,632,499.82 1.41 ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ 128,662,722.38 4.29 รายได้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง 261,431,553.55 8.65 เงินเดือนและค่าจ้างประจำ 824,627,276.82 27.50 รายได้ประกันสังคม 69,817,660.00 2.31 ค่าจ้างชั่วคราว 265,814,591.92 8.87 รายได้แรงงานต่างด้าว 1,371,361.00 0.05 ค่าตอบแทน 471,523,015.40 15.73 รายได้ค่ารักษาและบริการอื่น ๆ 109,007,131.45 3.61 ค่าใช้จ่ายบุคลากรอื่น 43,181,439.05 1.44 รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร 823,999,955.01 27.27 ค่าใช้สอย 170,682,467.89 5.69 รายได้อื่น 128,580,862.24 4.26 ค่าสาธารณูปโภค 94,031,612.84 3.14 รายได้งบลงทุน 87,330,803.87 2.89 วัสดุใช้ไป 108,829,094.08 3.63 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 166,197,307.61 5.54 ค่าใช้จ่ายอื่น 143,487,218.04 4.79 รวมรายได้ 3,021,330,487.63 100.00 รวมค่าใช้จ่าย 2,998,342,501.38
สัดส่วน แหล่งรายได้ ตาม แผนรายรับ ปี 2559
สัดส่วน หมวดค่าใช้จ่าย ตามแผนรายจ่าย ปี 2559 ส่วนต่างรายได้หักค่าใช้จ่าย 101,854,489.99
Best Practice : การจัดทำแผนทางการเงิน (Planfin) หน่วยบริการ กระบวนการจัดทำแผนทางการเงิน ประชุมชี้แจงแนวทาง หน่วยบริการจัดทำแผนส่งจังหวัด จัดประชุมหัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้างานที่เกี่ยวข้อง เชิญผู้อำนวยการโรงพยาบาลนำเสนอแผนต่อคณะกรรมการ CFO จังหวัด พิจารณา คณะกรรมการ CFO ใช้แผน (Planfin) ในการควบคุม กำกับ ติดตาม (รายเดือน/ไตรมาส)
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ตัวชี้วัดหลัก “มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาของหน่วยงาน ”(เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาทั้งหมด) ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น มีการพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ พ.ศ. 2557 การสั่งใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา อย่างสมเหตุผล จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อ จัดหาและส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา
เป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน แต่งตั้ง/ปรับปรุงคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง นโยบายและเป้าหมายการดำเนินงานตามมาตรการ แผนการสำรองร่วม/คลังร่วม กรอบและบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา แผนดำเนินการจัดซื้อ ร่วม รายงานผลการ จัดซื้อร่วม รายงานผลการดำเนินงาน ประเมินผลการ ดำเนินงาน ดำเนินการได้ครบถ้วน ทุกข้อ ในส่วนจัดซื้อร่วมมีมาตรการเพื่อเพิ่มมูลค่าการจัดซื้อร่วมเขต/จังหวัด
เป้าหมาย หน่วยบริการ (รพศ. รพท. รพช.) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน แต่งตั้ง/ปรับปรุงคำสั่งแต่งตั้ง คกก.ที่เกี่ยวข้อง นโยบาย+เป้าหมาย การดำเนินงานตามมาตรการ จัดทำและขออนุมัติแผนจัดซื้อจัดจ้าง ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา คู่มือ/แนวทางการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ แนวปฏิบัติและกลไกการกำกับการปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรม รายงานผล การดำเนินงาน รายงานผลการดำเนิน งาน รายงานผลการดำเนิน งาน รายงานผลการดำเนินงาน ประเมินผล การดำเนินงาน เรื่องแนวทางการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการยังไม่ชัดเจน ส่วนแนวทางปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรมยังต้องมีการกำกับติดตามต่อไป
การจัดซื้อร่วม (เป้าหมาย > ร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อทั้งหมด) (ข้อมูลไตรมาสที่ 1 ปี 2559) โรงพยาบาล มูลค่าการจัดซื้อยาร่วม มูลค่าการจัดซื้อยา ทั้งหมด (C) ร้อยละมูลค่า การจัดซื้อร่วม (โดยการสืบ ราคาร่วมกัน) (A/C)*100 ร้อยละมูลค่า การจัดซื้อร่วม (มีสัญญาฯตาม ระเบียบพัสดุ) (B/C)*100 ร้อยละมูลค่าการจัดซื้อร่วม(สืบราคาร่วม+ มีสัญญา) (A+B/C)*100 สืบราคาร่วม(A) สอบราคา/ ประกวดราคา/ e-auction (มีสัญญา) (B) รพช. (15 แห่ง) 9,081,512.18 539,922.0 65,778,816.38 13.81 0.82 14.63 รพ.ชัยภูมิ 0.0 1,752,767.0 47,956,309.37 3.65 รวม 9,621,434.18 113,735,125.75 7.98 2.02 10.0
การจัดซื้อร่วม (เป้าหมาย > ร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อทั้งหมด) (ข้อมูลไตรมาสที่ 1 ปี 2559) โรงพยาบาล มูลค่าการจัดซื้อร่วมของเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา* (ใช้ราคาอ้างอิง, จัดซื้อโดยวิธีตกลงราคา) มูลค่าการจัดซื้อ ทั้งหมดของเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา ร้อยละของมูลค่าการจัดซื้อร่วม รพช. (14) แห่ง 11,686,251.62 38,789,030.47 30.13 รพ. ชัยภูมิ 6,470,433.70 27,739,553.00 23.32 รวม 18,156,685.32 66,528,583.47 27.29
จัดซื้อร่วมเขต/จังหวัด (เป้าหมาย≥ 20%) ประเภท ปี 2557 ปี 2558 ไตรมาส 1/2559 (ล้านบาท) ร้อยละ มูลค่าซื้อร่วม มูลค่าซื้อทั้งหมด ยา 8.81 9.55 11.37 113.73 10.0 เวชภัณฑ์ที่ มิใช่ยา 1.71 1.25 18.16 66.53 27.29 รวมทุกหมวด 6.33 6.26 29.53 180.26 16.38
จุดเด่นที่น่าชื่นชม รพ.ชัยภูมิ มีการจัดซื้อยาถูกต้องตามระเบียบพัสดุฯโดยจัดซื้อตามวงเงินในแผนด้วย วิธีสอบราคา และ e-bidding จำนวน 27 รายการ วงเงินทำสัญญาประมาณ 37 ล้าน บาท(1ตค.58-31มค.59) รพ.ชัยภูมิ มีการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ถูกต้องตามระเบียบพัสดุฯโดย จัดซื้อตามวงเงินในแผนด้วยวิธีสอบราคา และ e-bidding จำนวน 32 รายการ วงเงิน ทำสัญญาลดลงได้ 48% เป็นเงินประมาณ 9,869,820บาท(1มีค.59-กพ.60) บุคลากรที่เกี่ยวข้องพร้อมที่จะเรียนรู้และมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางาน รพ.ชัยภูมิ มีระบบกำกับป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ที่เป็น รูปธรรมชัดเจน สามารถเป็นแบบอย่างให้ รพ.อื่นๆได้
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา จากผลการดำเนินการในปีที่ผ่านๆ มา มูลค่าการจัดซื้อร่วม(ตาม ระเบียบพัสดุฯ) ยังน้อยอาจเพิ่มรายการทั้งยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ ยาในการจัดซื้อร่วมระดับเขต/จังหวัด เพื่อให้ผลการดำเนินการ ได้ตามเป้าหมาย รวมทั้งการกำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือก รายการเพื่อนำมาจัดซื้อร่วม เพื่อให้ รพ.ทุกระดับได้รับ ประโยชน์จากการดำเนินการ กำหนดผู้ที่รับผิดชอบรายงานข้อมูลให้ชัดเจน โดยเฉพาะกลุ่ม เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาใน รพช. รวมทั้งให้มีระบบกำกับติดตามข้อมูล
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 3.1 การพัฒนาบุคลากร เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ ตัวชี้วัดหลัก การบริหารจัดการ การพัฒนาบุคลากร ที่มีประสิทธิภาพ ในทุกระดับหน่วยงาน -จังหวัดผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนา บุคลากร -มีแผนยุทธศาสตร์บริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ระยะยาว (PA) ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลด้าน HR ที่มีความถูกต้อง ทันสมัยและมีการนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจและการบริหารทรัพยากรบุคคล จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 5 ปี หน่วยงานมีการจัดทำกำลังคนตามกรอบที่ได้รับภายใต้โครงสร้างใหม่ของ กระทรวงสาธารณสุข
3.1 การพัฒนาบุคลากร 1. มีผู้รับผิดชอบโดยตรงในรูปคณะกรรมการพัฒนาบุคลากรระดับ จังหวัด โดย 1.1 มีการสำรวจ need assessment 1.2 วิเคราะห์ Gap โดยอาศัย Service plan เป็นหลัก 1.3 ดำเนินการจัดลำดับความสำคัญ 2.จัดทำแผนฯอย่างมีส่วนร่วม โดยมีกรรมการมาจากทุกภาคส่วน 2.1 จัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาบุคลากร 3. จัดทำฐานข้อมูลพัฒนาบุคลากรของจังหวัดเพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาบุคลากรให้ เหมาะสม ครอบคลุมทั้งคนและงาน 4. สร้างหลักเกณฑ์ หรือแนวทางปฏิบัติการฝึกอบรม ประชุม สัมมนา และการลาศึกษา ต่อ เพื่อให้บุคลากรนำไปปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน
ข้อเสนอแนะ 3.1 การพัฒนาบุคลากร 1.ควรมีการวางแผนการทำงานร่วมกันระหว่างงานพัฒนากำลังคน (HRM) กับงานพัฒนาบุคลากร (HRD) เพื่อลดปัญหาการบริหารจัดการผู้เข้าอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ และการเลื่อนระดับในตำแหน่งสูงขึ้น 2. ควรมีแผนการพัฒนาบุคลากรระยะยาว 3-5 ปีเพื่อได้เห็นแนวโน้มในการพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพของจังหวัด
4.ธรรมาภิบาล 4.1.การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย 4.1.1 การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรของให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย 4.1.2 เร่งรัดการดำเนินงานตามเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงานของหน่วยงานเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Base Integrity & Tranparency Assessment : ITA ) 4.2 การตรวจสอบภายใน 4.3 การดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 4.1. การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรของให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ ตัวชี้วัดหลัก บุคลากรปฏิบัติตาม ระเบียบวินัยและข้อ ร้องเรียนลดลง -หน่วยงานผ่านเกณฑ์ประเมินระดับความสำเร็จ การเสริมสร้างและ พัฒนาบุคลากรของให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย (ผ่านระดับ 5) ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1.มีการวิเคราะห์และวางแผนเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรให้มีวินัย มีการดำเนินตามแผนที่กำหนด มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
กลุ่มงานนิติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิสถานการณ์ ปี พ. ศ กลุ่มงานนิติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิสถานการณ์ ปี พ.ศ.2556 -2559 ประเภทการกระทำผิดวินัย ปี 2556 2557 ปี 2558 2559 (ไตรมาสที่ 1) รวม กำลังดำเนินการ วินัยอย่างไม่ร้ายแรง ๐ 1 วินัยอย่างร้ายแรง เรื่องร้องเรียน 13 8 24 5 50 10 ปี 2558 พบว่ามีดำเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรง ลงโทษผู้กระทำผิด จำนวน 1 เรื่อง เกี่ยวกับประกอบกิจการและดำเนินการสถานพยาบาลโดยไม่ชอบ
4.1.1 การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2559 1 ประชุมชี้แจงทุกหน่วยงานย่อยในสังกัด ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการเสริมสร้างฯตามคำสั่งสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชัยภูมิที่ 15/2559 ลงวันที่ 19 มกราคม 2559 3 วิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผนการเสริมสร้างฯตามลำดับความสำคัญ 4 ดำเนินการตามแผนเสริมสร้างฯแล้วร้อยละ 40
การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย ผลลัพธ์ที่ต้องการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน บุคลากรในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ ได้รับการเสริมสร้างและพัฒนาให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย 1. วิเคราะห์ 2. ทำแผน (รายงานการวิเคราะห์และแผน 1 ฉบับ) ดำเนินการตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 (รายงานรอบ 6เดือน 1 ฉบับ) ดำเนินการตามแผนฯครบถ้วน (รายงานรอบ 9เดือน 1 ฉบับ) สรุปผลการดำเนินการฯ/ประเมินผล (รายงานรอบ 12เดือน และการประเมินผล 1 ฉบับ) ทำได้ตามเกณฑ์ QUICK WIN 3 เดือน
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 4.1.2 เร่งรัดการดำเนินงานเร่งรัดการดำเนินงานตามเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งในในการดำเนินงานของหน่วยงานเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence base integrity & Transparency Assessment : EBITA ) เป้าหมายเชิง ผลลัพธ์ หน่วยงานมีการ ดำเนินงานด้วย จิตสำนึกความมี คุณธรรม ตัวชี้วัดหลัก ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายหน่วยงาน ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ชัยภูมิผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ คุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงานของหน่วยงานเฉพาะหลักฐาน เชิงประจักษ์ (มากกว่า ร้อยละ 75) ผลการประเมิน ITA สสจ.ชัยภูมิ ปี 2558 = 78.37 ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. มีการประชุมชี้แจงผลการประเมินปี 2558 ให้ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบเพื่องปรับปรุงในข้อที่ยังไม่ผ่านการประเมิน 2. มีการประเมินตนเองตามแนวทางที่กำหนด 3. รายงานสรุปผลการประเมินตนเองและมีการวิเคราห์ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
หน่วยงานมีการ ดำเนินงานด้วย จิตสำนึกความมี คุณธรรมและความ โปร่งใส 4.1.2 เร่งรัดการดำเนินงานเร่งรัดการดำเนินงานตามเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งในในการดำเนินงานของหน่วยงานเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence base integrity & Transparency Assessment : EBITA ) เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ หน่วยงานมีการ ดำเนินงานด้วย จิตสำนึกความมี คุณธรรมและความ โปร่งใส ตัวชี้วัดหลัก ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานในสังกัดสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับคุณธรรมและ ความ โปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (มากกว่า ร้อยละ 75) ผลการดำเนินงานปี 2559 1 ได้มีการจัดอบรมโครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2559 2 อยู่ระหว่างการดำเนินการประเมินตนเองตามแนวทางที่กำหนด 3 มีการประชุมชี้แจงผลการประเมินปี 2559 ให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สสจ.ชัยภูมิทราบ ในข้อที่ยังไม่ผ่านการประเมิน ในที่ประชุมองค์กรคุณธรรม
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 4.2 การตรวจสอบภายใน เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ ตัวชี้วัดหลัก หน่วยงานในสังกัด สป. มีกลไกการ ตรวจสอบภายในอย่างเป็นรูปธรรม - หน่วยงานมีการดำเนินงานตรวจสอบภายในตาม เกณฑ์ที่กำหนด ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น
สถานการณ์ - ปี 2558 จังหวัดมีการดำเนินการตรวจสอบภายในและรายงานผลการ ตรวจสอบภายใน หน่วยบริการ (รพช.) จำนวน 15 แห่ง - ปี 2559 จังหวัดมีแผนการดำเนินการตรวจสอบภายในหน่วยบริการ และมีการพิจารณาความเสี่ยงระดับจังหวัดและหน่วยบริการ (รพช.) จำนวน 16 แห่ง แต่ยังไม่มีแผนการตรวจสอบภายในของ สสอ. และการ ตรวจร่วมระหว่าง สสจ. และรพศ.
ประเด็นที่ 1. แผนการตรวจสอบภายในและการดำเนินการตรวจสอบภายในของทุกหน่วยงานภายในจังหวัด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 1. มีแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 1. จังหวัดมีการจัดทำโครงการ ตรวจสอบภายในปี 2559 แต่ยังไม่ได้นำส่งกลุ่มตรวจสอบภายใน สป. 2. แผนปฏิบัติงานตรวจสอบภายในปี 2559 ตรวจสอบทุกแห่งแต่ยังไม่ครอบคลุม สสอ. สสจ. และรพศ. ข้อเสนอแนะ - ควรวางแผนตรวจสอบภายในให้ครอบคลุมทุกหน่วยและ ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนการตรวจสอบภายในประจำปี
ประเด็นที่ 1. แผนการตรวจสอบภายในและการดำเนินการตรวจสอบภายในของทุกหน่วยงานภายในจังหวัด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 2 คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด มีรายงานติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะจากประเด็นการตรวจสอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เสนอนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทราบ 2.1 มีการดำเนินการจัดส่งผลการตรวจสอบภายในปี 2558 แจ้งกลุ่มตรวจสอบภายใน หน่วยบริการและหน่วยงานย่อย 2.2 หน่วยบริการและหน่วยงานย่อย ดำเนินการแก้ไขประเด็นผลการตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว 2.2 หน่วยบริการและหน่วยงานย่อย ดำเนินการแก้ไขประเด็นผลการตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว 2.3 ปีงบประมาณ 2559 จากการดำเนินการตรวจสอบภายในแล้ว 2 แห่ง พบความเสี่ยงระดับจังหวัด เรื่องสัญญาเงินยืมส่งล่าช้า คือ รพ.ซับใหญ่ , รพ.คอนสวรรค์ ข้อเสนอแนะ ให้ปฏิบัติตามระเบียบและมีมาตรการติดตามเพื่อใช้ประกอบเอกสารพร้อมทั้งจัดทำขั้นตอนการยืมเงินให้แก่ หน่วยงานในสังกัด
ประเด็นที่ 2. การแจ้งผลตรวจสอบภายในกลับให้หน่วยงานรับตรวจทราบภายหลังการตรวจฯ และมีการแก้ไขปรับปรุงตามประเด็นและข้อสังเกตที่พบจากการตรวจสอบภายใน ประเด็นการตรวจ1 ผลการดำเนินงาน 3 ดำเนินการตามแผนการตรวจสอบภายในและสรุปรายงานผลการตรวจสอบภายในภาพรวมจังหวัดรอบ 6 เดือนภายในวันที่ 18 เมษายน 2559 - อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามแผนปฏิบัติการตรวจสอบภายในปัจจุบันดำเนินการตามแผนแล้ว 2 หน่วยงาน ยังเหลืออีก 2 แห่ง 1.รพ.บ้านแท่น 17-18 มีนาคม 2559 (บูรณาการพร้อมทีมตรวจสอบคุณภาพบัญชี ระดับเขต) 2.รพ.เกษตรสมบูรณ์ 23 มีนาคม 2559 ข้อเสนอแนะ ให้จังหวัดพิจารณาปรับแผนการตรวจสอบ รพ.บ้านแท่นเพื่อรับการตรวจจาก คณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพบัญชี ระดับ เขต
ประเด็นที่ 2. การแจ้งผลตรวจสอบภายในกลับให้หน่วยงานรับตรวจทราบภายหลังการตรวจฯ และมีการแก้ไขปรับปรุงตามประเด็นและข้อสังเกตที่พบจากการตรวจสอบภายใน ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 4. ดำเนินการตรวจสอบภายในตามแผนครบ 100 % และสรุปรายงานผลการตรวจสอบภายในภาพรวมจังหวัดรอบ 9 เดือนภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2559 - ติดตามรอบตรวจราชการถัดไป
ประเด็นที่ 3. การปรับปรุงและวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางระบบแก้ไขปัญหาในภาพรวมจังหวัด ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 5. คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางระบบแก้ไขปัญหาในภาพรวมจังหวัด และส่งภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2559 - ติดตามรอบตรวจราชการถัดไป
ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผู้บริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย สรุปประเด็นสำคัญที่เป็นความเสี่ยง ประเด็นความเสี่ยง ข้อเสนอแนะ ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานในสังกัดยังขาดองค์ความรู้ในด้านการเงิน การบัญชีและด้านพัสดุ - พัฒนาอบรมความรู้ในด้านการเงิน การบัญชีและด้านพัสดุ ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผู้บริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย ควรมีผู้ตรวจสอบภายในโดยตำแหน่งสำหรับระดับจังหวัดเพื่อทำหน้าที่โดยตรง ส่งเสริมพัฒนาผู้ที่ทำหน้าที่การตรวจสอบภายในทุกระดับ ปัจจุบันที่มีการมอบหมาย ให้ทำหน้าที่การตรวจสอบภายใน ให้เกิดประสิทธิภาพ
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 4.3 การดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ ตัวชี้วัดหลัก บุคลากรทุกระดับในหน่วยงาน ได้รับ การเสริมสร้างและพัฒนาให้มี คุณธรรม จริยธรรม -หน่วยงานมีการดำเนินงานองค์กรคุณธรรมตามแผน (สสจ. รพศ. รพท. รพช.ทุกแห่ง สสอ ร้อยละ 50 รพ.สต.ร้อยละ 30 สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ร้อยละ 100) -มีหน่วยงานต้นแบบ 1 แห่ง ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น มีการประชุมชี้แจงและแต่งตั้งกรรมการดำเนินการ จัดทำแผน รพ.คุณธรรม ที่ครอบคลุม สสจ. สสอ. รพศ. รพช.และรพ.สต. มีการดำเนินการตามแผน รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนและมีการพัฒนาต่อยอด
4.3 การดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ลำดับที่ หน่วยงาน เป้าหมาย ผลงาน/ร้อยละ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1 แห่ง 1 แห่ง (ร้อยละ 100) 2 โรงพยาบาลศูนย์ (รพ.ชัยภูมิ) 3 โรงพยาบาลชุมชน 16 แห่ง 9 แห่ง (ร้อยละ 56.25) 4 สสอ. กำลังดำเนินการ 5 รพ.สต. 167 แห่ง 6 สอน.
ผลการดำเนินงาน ปี 2559 3 5 2 4 1 หน่วยงาน ระดับความสำเร็จ ปี 2558 ระดับความสำเร็จ ปี 2559 โรงพยาบาลชัยภูมิ 3 5 โรงพยาบาลคอนสวรรค์ 2 โรงพยาบาลภูเขียว 4 โรงพยาบาลภักดีชุมพล โรงพยาบาลเนินสง่า เริ่ม สสจ.ชัยภูมิ 1 โรงพยาบาลหนองบัวแดง โรงพยาบาลจัตุรัส โรงพยาบาลแก้งคร้อ โรงพยาบาลบ้านเขว้า โรงพยาบาลบำเหน็จณรงค์
4.3 การดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ผลการดำเนินงาน ปี 2559 จุดเด่น มีการนำเสนอผลงานเด่นของหน่วยงานคุณธรรมและนำมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมมีการมอบรางวัลเพื่อชื่นชมผลการดำเนินงานเป็น แรงผลักดันให้เกิดการ ดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและขยายไปยังหน่วยงานอื่น
4.3 การดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ผลการดำเนินงาน ปี 2559 หน่วยงานในระดับ สสจ. รพศ. และรพช. 9 แห่งมีการประชุมชี้แจงนโยบาย และหาจุดร่วมในการกำหนดอัตลักษณ์ มีการประกาศนโยบายและอัตลักษณ์ ในหน่วยงานทั้ง 11 แห่ง 3) ประชาสัมพันธ์ให้ทราบทั่วกัน ประชุมชี้แจงให้ สสอ. รพช. รพสต. ให้ดำเนินการตามนโยบาย (11 ก.พ. 59) มีการนำเสนอผลงานเด่นของหน่วยงานคุณธรรมและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมมีการมอบรางวัลเพื่อ ชื่นชมผลการดำเนินงานเป็นแรงผลักดันให้เกิดการ ดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและขยายไปยังหน่วยงานอื่น
4.3 การดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ข้อเสนอแนะ ให้ติดตามประเมินผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลคุณธรรมระดับ 5 (รพ.ชัยภูมิ และ รพ.คอนสวรรค์ )ใน 3 ประเด็นคือ ความสุขของผู้ให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ และจำนวนข้อร้องเรียนลดลง เพื่อผลักดันให้เป็นโรงพยาบาลคุณธรรมต้นแบบของจังหวัดและของเขต ให้โรงพยาบาลที่มีผลการดำเนินงานระดับ 5 เป็นพี่เลี้ยงให้หน่วยงานที่เริ่มดำเนินการหรือดำเนินการในระดับที่ 1 เช่น สสอ. รพ.สต. และ สอน. สร้างคู่มือแนวทางในการพัฒนาหน่วยงานให้เป็นหน่วยงาน คุณธรรม