การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
Free Powerpoint Templates Page 1 นพ. เกรียงศักดิ์ พิมพ์ดา ประธานคณะกรรมการฯ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
LTC + RTI + SP NCD + Mgt.(3) + คบ.
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การประชุมคณะทำงานการดูแลผู้ป่วย โรคติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis) จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและเครือข่ายสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การนิเทศจังหวัด รอบ 2 ปี 2561
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan ข้อมูล ต.ค.59 – ม.ค.60 )
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
3 Eye Service Plan : Health Area.
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ

สภาพปัญหาปัจจุบัน : รพ.พุทธชินราช แม่ข่าย รพ.มน. ด้านภาระงาน รับผิดชอบให้บริการผู้ป่วยทั้งใน เขต 2 และเขต 3 ในด้านการทำหัตถการตรวจสวนหัวใจและการผ่าตัดเปิดหัวใจ รพ.อุตรดิตถ์ รพ.เพชรบูรณ์ รพ.ตาก รพ.แม่สอด รพ.สุโขทัย รพ.ศรีสังวร รพ.พุทธชินราช แม่ข่าย รพ.มน. รพ.สวรรค์ประชารักษ์ รพ. พิจิตร รพท. อุทัยธานี รพท.ชัยนาท รพท. กำแพงเพชร

ตัวชี้วัด Service plan สาขาหัวใจ อัตราตายใน รพ.ของผู้ป่วย STEMI อัตราการได้รับการเปิดหลอดเลือด (Reperfusion) โดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Streptokinase) หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (Primary PCI) ระยะเวลาการรอคอยผ่าตัดเปิดหัวใจ ร้อยละของโรงพยาบาล A-F2 ที่มี warfarin clinic อัตราผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR<65% ร้อยละของโรงพยาบาล A-S ที่มี heart failure clinic

เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI network)

การพัฒนาเครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI network) รพ.สต. รพช. (M2-F2) รพศ. (A) 1.สามารถคัดกรองผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันและผู้ป่วยเจ็บหน้าอกจากภาวะอื่น ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 1.เหมือน รพ.สต. 1. สามารถตรวจ coronary angiogram และให้การรักษาด้วยการทำ PCI ได้ 2. สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นจากอาการและอาการแสดง เพื่อส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถให้การวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันจากอาการและคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้ 2. สามารถรักษาแบบ primary PCI ได้ตลอด 24 ชม. 3.สามารถให้ Aspirin ในภาวะที่สงสัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันได้ 3. มีระบบการปรึกษากับ รพ.แม่ข่าย ในรายที่สงสัยหรือการวินิจฉัยซับซ้อน 3. สามารถให้การรักษาด้วยการผ่าตัดทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ (CABG) ในกรณีฉุกเฉินได้ 4.สามารถให้ความรู้ประชาชน ในการดูแลตนเอง และการสังเกตอาการในผู้ป่วยกลุ่มเสียงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน 4. สามารถให้การรักษาเบื้องต้นด้วย dual anti-platelet และ fibrinolytic therapy ได้อย่างเหมาะสม 5.มีระบบส่งต่อผู้ป่วยหลังจากให้การรักษาด้วย fibrinolytic therapy

STEMI Network การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย STEMI พัฒนาโรงพยาบาล M2-F2 สามารถให้ละลายลิ่มเลือดได้ พัฒนาระบบการสื่อสารและระบบการส่งต่อการรักษา พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วย STEMI

ตัวชี้วัด : STEMI Network อัตราการได้รับการเปิดหลอดเลือด (Reperfusion) โดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Streptokinase) หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (Primary PCI) > 75 %

เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI network) ผลการดำเนินงาน เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI network)

สรุปผลการพัฒนาการให้ยาละลายลิ่มเลือด (STEMI Network) จังหวัด สถานการณ์ ปี 56 ปี 57 เป้าหมาย ปี 58 ปี 59 ปี 60 พิษณุโลก (9 ) 22.2% (2/9) 100% (9/9 ) (9/9) ติดตามและประเมินผลระบบทั้งเขตบริการสุขภาพ อุตรดิตถ์ 11.1% (1/9) 33.3 % (3/9) สุโขทัย (9) 33.3% 55.5% (5/9) ตาก (8) 50% (4/8) 75% (6/8) (8/8) เพชรบูรณ์ (10) (10/10) ภาพรวม 43.1% 93.48%

KPI : Reperfusion > 75%

KPI : อัตราตายใน STEMI < 10%

จำนวน STEMI ไตรมาสแรกปี 59

KPI STEMI ปี 59(ไตรมาสแรก)

KPI STEMI เขตสุขภาพที่ 2

เครือข่าย warfarin clinic (warfarin clinic network)

การพัฒนาระบบการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด (warfarin clinic) รพ.สต. รพช. (M2-F2) รพศ. (A) 1.สามารถคัดกรองผู้ป่วยที่สมควรได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด 1.สามารถให้การรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดทั้งการให้ยา, การตรวจวัดค่าการแข็งตัวของเลือด 1.สามารถรักษาผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้อย่างเหมาะสม 2.มีระบบส่งต่อผู้ป่วยที่สมควรได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด 2 .มีระบบส่งต่อผู้ป่วยในรายที่ซับซ้อนหรือมีภาวะแทรกซ้อนได้อย่างเหมาะสม 2.สามารถให้การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านลิ่มเลือด ในกรณีที่ซับซ้อนได้ 3.สามารถให้คำแนะนำ การปฏิบัติตัวผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด 3.มีระบบส่งต่อข้อมูลระหว่างแม่ข่ายและลูกข่าย 4.สามารถให้การรักษาเบื้องต้นและส่งต่อผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านการแข็งตัวของเลือด

Warfarin clinic การพัฒนาระบบการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด จัดตั้ง Warfarin clinic ในโรงพยาบาล M2-F2 กำหนดแนวทางการรักษา การส่งต่อข้อมูลในเครือข่าย พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยา Wafarin วางระบบทะเบียนผู้ป่วยที่ได้รับยา Warfarin

ตัวชี้วัด (KPI) ร้อยละของ รพ. ระดับ A-F2 ที่มีวาร์ฟารินคลินิก = 100% ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR > 65%

เครือข่าย warfarin clinic (warfarin clinic network) ผลการดำเนินงาน เครือข่าย warfarin clinic (warfarin clinic network)

ภาพรวม warfarin clinic เขต 2 ภาพรวม warfarin clinic เขต 2 8/9 9/9 6/8 9/9 11/11 *ข้อมูล ก.พ.58

KPI: ผู้ป่วยที่ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR > 65% ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 2

เครือข่ายผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Open Heart Surgery Network)

Open Heart Surgery ตัวชี้วัด ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (3-6เดือน) อัตราการส่งต่อไปผ่าตัดหัวใจแบบเปิดนอกพวงบริการลดลง

กราฟแสดงผลการดำเนินงาน Open Heart surgery

Open Heart Surgery ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดหัวใจจาก 1 ปีเป็น 6 เดือน ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดหัวใจจาก 1 ปีเป็น 6 เดือน (202 ราย: CABG 102, Valve 68, อื่นๆ 32) อัตราการส่งต่อไปผ่าตัดหัวใจแบบเปิดนอกเขต ลดลง

แผนการดำเนินงานในช่วงปี 2561-2565 พิษณุโลก พัฒนาการตรวจสวนหัวใจที่ซับซ้อนรวมทั้งหัตถการในการรักษา Structural heart disease พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจให้สามารถทำ Primary PCI ได้ 24 ชั่วโมง พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจเพื่อรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ พัฒนาการผ่าตัดหัวใจเด็กเพื่อลดการส่งต่อออกนอกเขต พัฒนาระบบการดำเนินงาน Warfarin clinic ให้ครอบคลุมทั้งเขต และพัฒนาคุณภาพในการรักษา

แผนการดำเนินงานในช่วงปี 2561-2565 อุตรดิตถ์ พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจให้สามารถเป็นศูนย์รับการส่งต่อที่แห่งที่ 2 ของเขต พัฒนาห้องตรวจสวนหัวใจเพื่อรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ( RF ablation ) พัฒนาศักยภาพการผ่าตัดหัวใจ

แผนการดำเนินงานในช่วงปี 2561-2565 เพชรบูรณ์ พัฒนา รพช. ในโซนเหนือ ( รพ. หล่มสัก ) และโซนใต้ ( รพ. วิเชียรบุรี ) ให้เป็น node ที่สามารถให้การวินิจฉัยโรคหัวใจเบื้องต้นได้ด้วยการทำ echocardiography พัฒนาหน่วย CCU เพื่อรองรับผู้ป่วยโรคหัวใจที่ไม่สามารถส่งต่อได้ พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจวิกฤติ เช่น การใส่ IABP และ Temporary transvenous pacemaker พัฒนา Heart failure clinic พัฒนาศักยภาพของ รพช. ชุมชน ขนาดกลาง เช่น รพ.หนองไผ่ รพร. หล่มเก่า ให้สามารถดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจที่มีอาการวิกฤติได้

Thank you

พิษณุโลก

สุโขทัย

อุตรดิตถ์

ตาก

เพชรบูรณ์

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2559 ประชุมชี้แจงแนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพด้านโรคหัวใจปี 2559 โครงการพัฒนาการศักยภาพดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ พัฒนาการเข้าถึงการบริการ การตรวจสวนหัวใจ 3.1 เพิ่มห้องตรวจสวนหัวใจอีก 2 ห้อง - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ 1 ห้อง (ดำเนินการเสร็จสิ้นงบบริจาค) - โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก (กำลังดำเนินการ งบเงินบำรุง) 3.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำระบบ เครือข่าย Fast Track CAG ใช้แนวคิด LEAN

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2559 4. พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Warfarin) - จัดอบรมเชิงปฏิบัติการนำโปรแกรมวาร์ฟารินคลินิกเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลในเขต 2 และการจัดการฐานข้อมูลในการรายงานตัวชี้วัดของผลการดำเนินงานวาร์ฟารินคลินิก 5. พัฒนาระบบการดุแลผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (CHF) - จัดตั้ง Clinic heart failure ในโรงพยาบาลระดับ A,S ทุกแห่ง - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว 6. นิเทศและติดตามเยี่ยมเครือข่าย รพ.เขตสุขภาพที่ 2 ตามแนว Service plan

แผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ ปีงบประมาณ 2559

แผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบ 2559 สาขาโรคหัวใจ งบประมาณ (บาท) โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ เขตสุขภาพที่ 2 86,400 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง 10,700 โครงการการดูแลและติดตามผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินใน รพ.เขตสุขภาพที่ 2 85,640 กิจกรรมนิเทศ รพ.ลูกข่าย ในเขตสุขภาพที่ 2 11,200 รวมงบประมาณ 193,940

ตัวชี้วัด Service plan สาขาหัวใจ เป้าหมาย 1. อัตราตายใน รพ.ของผู้ป่วย STEMI < 10% 2. อัตราการได้รับการเปิดหลอดเลือด (Reperfusion)ในผู้ป่วย STEMI โดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Streptokinase) หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (Primary PCI) > 75% 3. ร้อยละของรพ.ระดับ M2-F2 สามารถให้ละลายลิ่มเลือดได้ 100% 4. ระยะเวลารอคอยการตรวจสวนหัวใจ < 3 เดือน 5. ระยะรอคอยการผ่าตัดเปิดหัวใจ < 6 เดือน 6. ร้อยละของ รพ.ระดับ A-F2 มี Warfarin clinic 7. ผู้ป่วยที่ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR > 65% 8. ร้อยละของ รพ.ระดับ A-S มี heart failure clinic