การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) โชคชัย อุ่นเรือน วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ในรายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) กรอบแนวคิดการวิจัย รูปแบบการจัดการเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรต้น รูปแบบการจัดการเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น สูงขึ้น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 4 ห้องเรียน นักศึกษาจำนวน 159 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 สาขางานการขาย จำนวน 1 ห้อง นักศึกษาจำนวน 32 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ 1. วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ใช้สถิติการเวิคราะห์ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้วยโปรแกรม SPSS VERSION 1.0 2. การวิเคราะห์ข้อมูลก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) โดยใช้ สถิติ t-test
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) 32 32 คน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) สรุปผลการวิจัย การวิจัย เรื่องพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น สมมติฐานการวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) ในรายวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น จะส่งผลให้นักศึกษามีการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ผู้วิจัยทำการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 มีสาขางานบัญชี จำนวน 2 ห้อง สาขางานการขาย จำนวน 1 ห้อง และสาขาภาษาต่างประเทศ จำนวน 1 ห้อง รวมจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น 159 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ดำเนินการสอนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เวลาสอน 1 คาบ (55 นาที) มีการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ละ 2 คาบ ดำเนินการทดลองสัปดาห์ที่ 11 – 15 รวมระยะเวลา 5 สัปดาห์ 10 คาบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) แผนการสอนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ดำเนินการสอนด้วยตนเอง โดยดำเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 และได้ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์เฉลี่ยและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลัง ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ดังนี้
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) อภิปรายผล จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) จำนวน 159 คน ที่เรียน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) พบว่านักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น สูงขึ้น ซึ่งส่งผลให้ได้คะแนนมากกว่าก่อนการทดสอบ โดยคะแนนการสอบก่อนการจัดกิจกรรมโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) มีค่าเฉลี่ย 4.33 และ คะแนนการทดสอบการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์ และความแม่นยำหลังการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 7.09 พบว่าค่าเฉลี่ยของการทดสอบของนักศึกษาหลังการทดสอบมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการทดสอบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ซึ่งกล่าวได้ว่านักศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นหลังจากใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ แคทรียา มุขมาลี และ วิมล สำราญวานิช ซึ่งผลการวิจัยคือคะแนนเฉลี่ยหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานเพิ่มขึ้น 13.59 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 33.97 โดยก่อนทำกิจกรรมมีคะแนนเฉลี่ย คือ 14.31 หรือคิดเป็นร้อยละ 33.13 และหลังทำกิจกรรมมีคะแนนเฉลี่ย คือ 28.22 หรือคิดเป็นร้อยละ 67.10 และผลการตรวจสอบสมมุติฐานด้วย t-test (dependent samples) ได้ค่า t คือ 20.61 ซึ่งมากกว่าค่า trite คือ 1.70 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (One-tail) หมายความว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ สอดคล้องกับ ยศวีร์ อิ่มอโนทัย (2554) จากการศึกษาผลของการพัฒนาการเรียนการสอนโดยการใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ในการเรียนการสอนในรายวิชาการออกแบบการประเมินผลของนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาการวิเคราะห์และการประเมินสมัยใหม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้คือการพัฒนาการเรียนการสอนโดยการใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ในการเรียนการสอนในรายวิชาการออกแบบการประเมินผลของนักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาการวิเคราะห์และการประเมินสมัยใหม่สร้างความรู้ความเข้าใจในการศึกษาในระดับมาก และ นักศึกษาส่วนใหญ่จำนวน 11 คนได้ค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 60-74 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 42.3 รองลงมามีค่าคะแนนระหว่าง 55-59 คะแนน จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 34.6 และสอดคล้องกับงานวิจัย
3. การจัดกิจกรรมในลักษณะนี้นักศึกษาต้องเข้าเรียนอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ข้อเสนอแนะ 1. ควรวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) ในรายวิชาอื่น ๆ ต่อไป 2. ควรวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการการเรียนรู้ในลักษณะเดียวกันนี้กับนักศึกษาในระดับชั้นอื่น 3. การจัดกิจกรรมในลักษณะนี้นักศึกษาต้องเข้าเรียนอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)