ความรู้เบื้องต้นเรื่องการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การเขียนโครงร่างวิจัย
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
การวัด Measurement.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาชีววิทยา.
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
โดย ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย การจัดประเภทของการวิจัย
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Multistage Cluster Sampling
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเรื่องการวิจัย โดย เมธี สูตรสุคนธ์

ความหมาย การศึกษาข้อเท็จจริงของปรากฏการณ์ อย่างมีวัตถุประสงค์ และมีระเบียบวิธี การศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมแบบวิทยาศาสตร์ โดยกระบวนทัศน์แบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Paradigm)

กระบวนทัศน์แบบวิทยาศาสตร์ การคิดแบบเหตุผล (Rationalism) ทุกสิ่งเชื่อมโยงกันโดยเหตุผล การคิดเชิงประจักษ์ (Empiricism) ทุกสิ่งจับต้องได้ วัดได้ การคิดแบบจักรกล (Mechanism) ทุกสิ่งสัมพันธ์กันเหมือนเป็นจักรกล

เหตุ ผล แรงดึงดูด ของตกสู่พื้น

รวบรวมข้อมูล/พิสูจน์สมมุติฐาน สรุป รวบรวมข้อมูล/พิสูจน์สมมุติฐาน ตั้งคำถาม/สมมุติฐาน สังเกต

การวิจัยทางกายภาพ คุณสมบัติทางกายภาพ Physical Qualification ค่อนข้างคงที่ การวิจัยทางสังคม คุณสมบัติทางสังคม Social Qualification ค่อนข้างไม่คงที่

การวิจัยเชิงคุณภาพ สรุป มีส่วนร่วม สร้างกรอบแนวคิด สังเกต

เก็บข้อมูล / ทดสอบสมมุติฐาน การวิจัยเชิงปริมาณ สรุป เก็บข้อมูล / ทดสอบสมมุติฐาน ตั้งคำถาม / สมมุติฐาน สังเกต / ทฤษฎี

วิจัยเชิงทดลอง กลุ่มทดลอง O1 E O2 กลุ่มควบคุม O1 O2 O = Observation การสังเกต E = Experiment การทดลอง

การวิจัย และพัฒนา R & D R1 D1 R2 D2 Rn Dn

หัวข้อวิจัย (PVs.= Problematic Variables) การกำหนดความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็นปัญหา ความสำคัญ - ปรากฏการณ์ - ทฤษฎี - ระเบียบวิธี

องค์อินทรีย์ ระบบใหญ่ ระบบย่อย

(Independent Variables) (Dependent Variables) ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) คือ ตัวแปรที่เมื่อตัวเองเปลี่ยนไปจะเป็นผลให้ตัวแปรตามเปลี่ยนตาม ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ตัวแปรที่จะเปลี่ยนค่าตามเมื่อตัวอิสระเปลี่ยนค่าไป

ตัวแปรตาม (ผล) ตัวแปรอิสระ (เหตุ) - ตัวแปรมาตรฐาน - ตัวแปรเชิงนโยบาย - ตัวแปรแทรกซ้อน - ตัวแปรภายนอก ตัวแปรตาม (ผล)

ตัวแปรมาตรฐาน ปัจจุบันมักใช้ Demographic Data SES (Social & Economic Status) คุณลักษณะ เป็นคุณลักษณะส่วนตัวไม่ได้มุ่งศึกษาโดยตรง บอกความน่าเชื่อถือ หรือความเป็นตัวแทนของประชากร เปลี่ยนแปลงได้ยาก หรือช้า

ตัวแปรเชิงนโยบาย - เป็นตัวแปรที่จัดการได้ ตัวแปรแทรกซ้อน - ตัวแปรที่ไม่ได้ศึกษา แต่ส่งผลต่อการศึกษา ตัวแปรภายนอก - ตัวแปรที่ไม่ได้ศึกษาและมีขนาดใหญ่เกินการควบคุม

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ตัวแปร ตัวชี้วัด เกณฑ์ชี้วัด อร่อย 1. ตักซ้ำ 1. 80% 2. สั่งซ้ำ 2. 70% 3. แนะนำ 3. 60% 4. Take home 4. ????

วัตถุระสงค์ในการวิจัย โจทย์วิจัย 1.ตัวแปรตามเป็นอย่างไร 2.อะไรเป็นผลให้เกิดตัวแปรตาม วัตถุระสงค์ในการวิจัย 1. เพื่อศึกษาตัวแปรตาม 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรตาม

ความน่าเชื่อถือของงานวิจัย ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ 1.เครื่องมือที่สร้างสามารถวัดได้จริง 2.กลุ่มตัวอย่างที่รวบรวมมาสามารถ เป็นตัวแทนประชากรได้จริง

ระดับการวัด 1.Nominal Scale การวัดแบบกลุ่ม นามบัญญัติ 2.Ordinal Scale การวัดแบบอันดับ 3.Interval Scale การวัดแบบช่วง อันตรภาคชั้น 4.Ratio Scale การวัดแบบอัตราส่วน

หลักการวัด 1.Validity ความเที่ยง ความเที่ยงตรง 1.1 Structural Validity ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (ครบ) 1.2 Content Validity ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (ตรง) 2.Reliabilty ความเชื่อมั่น 3.Sensibilty/Discriminant ความว่องไวในการวัด / อำนาจจำแนก 4.Meaningfulness การสื่อความหมาย

เครื่องมือที่ใช้ 1. แบบสัมภาษณ์ 2. แบบทดสอบ 3. แบบสังเกต 4. แบบสอบถาม 4.1 แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง (คำถามปลายปิด) 4.2 แบบสอบถามแบบไม่มีโครงสร้าง (คำถามปลายเปิด)

ประเภทคำถามของแบบสอบถามแบบปลายปิด Check list Multiple Choices Multiple Response Rank Priority Rating Scale

คำถามแบบ Check List คำถามที่มี 2 คำตอบเลือกได้ 1 คำตอบ เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง เคยฝึกงานหรือไม่ ( ) เคย ( ) ไม่เคย มีอาการแพ้ยาหรือไม่ ( ) ไม่ ( ) แพ้ ........................ ท่านมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่

คำถามแบบ Multiple Choices คำถามที่มีตั้งแต่ 3 คำตอบขึ้นไปเลือกได้ 1 คำตอบ ท่านชอบไปเที่ยวที่ใด ( ) บางแสน ( ) พัทยา ( ) ชะอำ ( ) หัวหิน

คำถามแบบ Multiple Responses คำถามที่มีตั้งแต่ 3 คำตอบขึ้นไปเลือกได้มากกว่า 1 คำตอบ ท่านชอบไปเที่ยวที่ใดบ้าง ( ) บางแสน ( ) พัทยา ( ) ชะอำ ( ) หัวหิน

คำถามแบบ Rank Priority คำถามที่ให้เรียงลำดับคะแนน ท่านชอบไปเที่ยวที่ใดมากที่สุด ให้เรียงลำดับ จาก 1 ถึง 3 โดย 1 = ชอบมากที่สุด จนถึง 3 = น้อยที่สุด ..... บางแสน ..... พัทยา ..... ชะอำ ..... หัวหิน

คำถามแบบ Rating Scale

คำถามแบบ Rating Scale 2

ความน่าเชื่อถือของข้อมูล สามารถเป็นอ้างอิงเป็นตัวแทนประชากรได้ ประกอบด้วยปัจจัย 2 ประการ ขนาดตัวอย่างใหญ่เพียงพอ การสุ่มมีการกระจายตัวดีพอ

เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง การสุ่มแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น - ใช้วัดกระแส (Non probability sampling) การสุ่มแบบใช้ความน่าจะเป็น - ใช้อ้างอิงประชากร (Probability sampling)

การสุ่มแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น สุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) สุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) สุ่มแบบโควต้า (Quota Sampling) สุ่มแบบลูกบอลหิมะ (Snowball Sampling)

การสุ่มแบบใช้ความน่าจะเป็น สุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) สุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) สุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) สุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) สุ่มแบบหลายชั้น (Multi - stage Sampling)

การทดสอบสมมุติฐาน Null Hypothesis = H0 Alternative Hypothesis = H1 Critical Point = จุดวิกฤติที่ยอมรับ Critical Area = พื้นที่วิกฤติที่ยอมรับ Error Type A = ยอมรับ H1 ทั้งที่ไม่ใช่ Error Type B = ปฏิเสธ H1 ทั้งที่ใช่

สมมุติฐานแบบหางเดียว

สมมุติฐานแบบสองหาง

สถิติที่ใช้ 1. สถิติพรรณา (Descriptive Statistics) การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง - มัธยฐาน (Median) - ฐานนิยม (Mode) - ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2. สถิติอ้างอิงเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)