เปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วย โรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
Advertisements

การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
2 ตาม พ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ. ศ ******************* กำหนดให้ อ. ก. พ. กระทรวง เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สมุทรปราการ นายวิญญู หมั่นการ นายนิพนธ์ เนยเมืองปัก
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ณ 31 พฤษภาคม
บริการฉับไว ไร้ความแออัด โรงพยาบาลแพร่.  430 เตียง  บุคลากร 1,126 คน  ประชากรจังหวัดแพร่ ~ 477,796 คน  ประชากรอำเภอเมือง ~ 128,073 คน  จำนวนผู้ป่วยนอก.
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
สระบุรี นายขจรศักดิ์ สถาวรจันทร์ น.ส.สถาพร ลิ่มพันธ์
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
แม่ฮ่องสอน -ว่าง- สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไตรเทพ มีบุญ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การคำนวณอัตรากำลัง (Work Load). เป็นโครงการพัฒนาคุณภาพ จัดทำโดย : คณะกรรมการ TQA หมวด 5 และ คณะกรรมการ HRD.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาบุคลากร ฝ่ายประเมินผลงาน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ประชุมการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
นโยบายและแนวทางการดำเนินงานศูนย์พึ่งได้ ปีงบประมาณ 2560
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วย โรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2556 ภายใต้โครงการพัฒนารูปแบบการวิเคราะห์ต้นทุน ระยะที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข ธีระศักดิ์ วงศ์ใหญ่ โรงพยาบาลเชียงคำ วนิดา ริ้วสุวรรณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย อัญชลี แก้วหมุด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา

ความเป็นมา วัตถุประสงค์: กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดอบรมการศึกษาต้นทุนโรงพยาบาล ปี 2554-2555 คณะกรรมการการเงินการคลัง(CFO) เขตบริการสุขภาพที่ 1 กลุ่มภารกิจพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ รพท./รพศ.ดำเนินการจัดอบรมการศึกษาต้นทุนโรงพยาบาลต่อเนื่องในปี 2557 ในพื้นที่ 8 จังหวัด(พะเยา เชียงราย แพร่ น่าน ลำปาง เชียงใหม่ ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินต้นทุนต่อหน่วย การให้บริการผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน ปี2556 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสัดส่วนต้นทุนต่อหน่วย การให้บริการผู้ป่วยนอกกับผู้ป่วยใน

รูปแบบการศึกษา เริ่มดำเนินการ: 1 ต.ค.2556 - 30 มิ.ย.2557 เริ่มดำเนินการ: 1 ต.ค.2556 - 30 มิ.ย.2557 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง: รพ.ศูนย์ 2 แห่ง (100%) รพ.ทั่วไป 7 แห่ง (100%) รพ.ชุมชน 89 แห่ง (100%) รูปแบบการศึกษา: Descriptive Research/ Retrospective/ Modified full cost method สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล: 1) ต้นทุนต่อหน่วย= ต้นทุนทั้งหมด ผลผลิตทั้งหมด 2) Percentage/ Mean/ Standard Deviation(S.D.)/ Minimum/ Maximum/ Ratio

organization structure Unit cost(UC): Conceptual frame work Modified Full Cost Method NRPCC= Non revenue producing cost center RPCC= Revenue producing PS= Patient service PP&Other= Promotion& prevention LC = Labour cost MC = Material cost CC = Capital cost TDC= Total direct cost Fixed cost= ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนตามปริมาณการให้บริการ(ค่าซ่อมบำรุง ..) Semi-fixed cost= ต้นทุนที่ไม่สัมพันธ์กับ ปริมาณการให้บริการ (ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ...) Variable cost= ต้นทุนที่แปรเปลี่ยนไปตามปริมาณการให้บริการ (วัสดุ ยา ...) RCCs = Ratio of Cost to Charges Study & analysis organization structure 1) Cost center identification& grouping Fixed cost NRPCC RPCC PS NPS Semi-variable cost LC+MC+CC LC+MC+CC LC+MC+CC LC+MC+CC 2) Direct center determination Variable cost TDC TDC TDC TDC 3) Allocation criteria determination& cost allocation Cost allocation Indirect cost Direct cost Patient Charges by Service group Aggregation 4) Full cost determination Full Cost RCCs by service group 5) Unit cost calculation Divided by number of output (Case; LOS; RW; …..) Patient Costs by Service group 6) Cost recovery& subsidize calculation Cost recovery Divided by number of output ( Visit; Registry; …..) Unit cost Total Costs by Patients Fixed cost Cost Subsidy Form ………. Semi-variable cost อ้างอิง: MOPH Costing Staff Variable cost

เครื่องมือ&ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา 1. Cost project program 1.1 แบบเก็บข้อมูล การใช้ทรัพยากร(ค่าแรง ค่าวัสดุและค่าเสื่อมราคา) จากงบการเงินและเพิ่มเติม 1.2 แบบเก็บข้อมูลเกณฑ์กระจาย ของแต่ละศูนย์ต้นทุน 2. Data program 2.1 แบบเก็บข้อมูลบริการ ผู้ป่วยนอก(ครั้งการให้บริการ และค่าบริการทางการแพทย์) 2.2 แบบเก็บข้อมูลบริการ ผู้ป่วยใน(ราย/ วันนอน/ น้ำหนักสัมพัทธ์

ผลการศึกษา คุณภาพข้อมูลต้นทุนของ รพ. ที่เข้าร่วมโครงการ Regional health รพ. (แห่ง) <70% 70%-80% 80%-90% >90% ผลรวมทั้งหมด รพช. รพท. รพศ. รพ.(แห่ง) % 1 98   89 6 3 100 2 46 14 11 9 40 86.96 47 12 16 97.87 4 70 13 20 60 85.71 5 64 17 52 81.25 66 8 35 7 62 33 19 80 51 82 77 81 98.78 10 61 75 24 68.00 76 28 18 72 94.74 827 97 115 237 236 769 92.99 12.6 1.56 0.52 15 1.43 30.8 2.6 0.91 30.7 2.21 1.17

ผลการศึกษา คุณภาพข้อมูลต้นทุนของ รพ. ที่เข้าร่วมโครงการ คุณภาพข้อมูลต้นทุน = ความครบถ้วนและถูกต้องของข้อมูลการใช้ทรัพยากร เกณฑ์กระจาย ข้อมูลการให้บริการตามกระบวนการวิเคราะห์ต้นทุน กลุ่มโรงพยาบาล และจำนวน ที่เข้าโครงการ อัตราการส่ง ข้อมูลต้นทุน (%) ความสมบูรณ์ คุณภาพข้อมูล(%) Mean Median S.D. รพช. (n= 89) 100% 92.15 92.22 1.16 รพท. (n= 6) 92.96 91.67 2.50 รพศ. (n=3) 1.11 ภาพรวม เขตบริการที่ 1(n=98) 92.20 1.27

ผลการศึกษา ต้นทุนรวม ของโรงพยาบาลแต่ละระดับ ล้านบาท % 20.97% 49.46% 29.57% %

ผลการศึกษา ต้นทุนรวม เฉลี่ยของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพช. รพท. รพศ. Min=23.488 Mean=105.347 SD=63.809 Max=341.189 ล้านบาท รพท. Min=314.592 Max=1,004.532 Mean=689.496 SD=254.849 ล้านบาท รพศ. Max=2,086.671 Min=1,467.335 Mean=1,814.007 SD=316.321 ล้านบาท

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อครั้ง ผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพช. รพท. Min=335 Mean=560 SD=112 Max=892 Bath/visit รพท. Min=592 Max=1,298 Mean=927 SD=227 Bath/visit รพศ. Min=787 Mean=1,046 SD=225 Max=1,189 Bath/visit

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อครั้ง ตามสิทธิบัตรผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพ. CSMBS=สิทธิข้าราชการ SSS=สิทธิประกันสังคม UC=สิทธิบัตรทอง Bath/Visit

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อราย ผู้ป่วยในของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพช. รพท. รพศ. Min=3,478 Mean=6,767 SD=1,710 Max=12,133 Bath/Case รพท. Min=10,667 Max=20,610 Mean=14,169 SD=3,795 Bath/Case รพศ. Max=20,310 Min=13,419 Mean=17,108 SD=3,472 Bath/Case

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อครั้ง ตามสิทธิบัตรผู้ป่วยในของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพ. CSMBS=สิทธิข้าราชการ SSS=สิทธิประกันสังคม UC=สิทธิบัตรทอง Bath/Case

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อวันนอน ผู้ป่วยในของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพช. รพท. Min=1,222 Mean=2,211 SD=525 Max=3,615 Bath/LOS รพท. Min=2,191 Max=3,956 Mean=3,082 SD=641 Bath/LOS รพศ. Max=4,667 Min=3,122 Mean=3,682 SD=856 Bath/LOS

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อครั้ง ตามสิทธิบัตรผู้ป่วยในของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพ. CSMBS=สิทธิข้าราชการ SSS=สิทธิประกันสังคม UC=สิทธิบัตรทอง Bath/Day

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อน้ำหนักสัมพัทธ์ ผู้ป่วยในของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพช. Min=6,026 Mean=11,511 SD=2,861 Max=19,714 Bath/AdjRW รพท. Min=8,892 Max=17,472 Mean=11,554 SD=3,164 Bath/AdjRW รพศ. Max=10,628 Min=8,052 Mean=9,609 SD=1,370 Bath/AdjRW

ผลการศึกษา ต้นทุนต่อครั้ง ตามสิทธิบัตรผู้ป่วยในของโรงพยาบาลแต่ละระดับ รพ. CSMBS=สิทธิข้าราชการ SSS=สิทธิประกันสังคม UC=สิทธิบัตรทอง Bath/AdjRW

ต้นทุนผู้ป่วยนอก(ครั้ง) ต่อผู้ป่วยใน(น้ำหนักสัมพัทธ์) สรุปและอภิปรายผลการศึกษา สัดส่วนต้นทุนต่อหน่วย ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน กลุ่มโรงพยาบาล สัดส่วน ต้นทุนผู้ป่วยนอก(ครั้ง) ต่อผู้ป่วยใน(คน) ต่อผู้ป่วยใน(น้ำหนักสัมพัทธ์) ปี 2556 ปี 2554* โรงพยาบาลชุมชน 12.09 14.54 20.57 21.46 โรงพยาบาลศูนย์ 16.35 22.03 9.19 13.43 โรงพยาบาลทั่วไป 15.28 19.43 12.46 16.29 โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป 15.67 19.70 11.28 15.99 * ต้นทุนในการให้บริการของ รพ. ในสังกัด สป.สธ. ปี 2553-2554(นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย และคณะ)

สรุปและอภิปรายผลการศึกษา ประเมินต้นทุนต่อหน่วยผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน กลุ่มโรงพยาบาล Unit cost OPD <Mean& Unit cost IPD <Mean >Mean >Mean& รพช. 33(33.67%) 17(17.35%) 15(15.31%) 23(23.47%) รพท. 3(3.06%) 1(1.02%) รพศ. 0(0%) ผลรวมทั้งหมด 36(36.73%) 19(19.39%) 25(25.51%) 1) การใช้ทรัพยากรต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน 2) การใช้ทรัพยากรในผู้ป่วยนอกต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ส่วนผู้ป่วยในกลับสูงกว่าค่าเฉลี่ย 3) การใช้ทรัพยากรในผู้ป่วยนอกสูงกว่าค่าเฉลี่ย ส่วนผู้ป่วยในกลับต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 4) การใช้ทรัพยากรสูงกว่าค่าเฉลี่ย ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน

สรุปและอภิปรายผลการศึกษา ประเมินข้อมูลต้นทุนและปัญหาที่พบ กลุ่มโรงพยาบาล เปรียบเทียบข้อมูลต้นทุน จากโปรแกรม Cost project สูงหรือต่ำกว่า ฐานข้อมูลงบการเงิน Labor cost Material cost Capital cost รพช. (n= 89) 89(100%) 12(13.48%) รพท. (n= 6) 2(33.33%) รพศ. (n=3) 1(33.33%) รวม (n=98) 15(15.31%) 1. ความคลาดเคลื่อนข้อมูลต้นทุน ข้อมูลการใช้ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา เปรียบเทียบข้อมูลทางบัญชี กับข้อมูลการเบิกจ่ายจากคลังพัสดุ ข้อมูลเงินเดือนและค่าจ้างประจำ กรณีไปช่วย/ มาช่วยราชการ 2. ความคลาดเคลื่อนของข้อมูลค่าบริการทางการแพทย์ ในฐานข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา ควรมีการปรับผังบัญชีเกณฑ์คงค้างของโรงพยาบาล ให้รองรับการจัดทำข้อมูลต้นทุน และตรวจสอบความถูกต้อง ของการบันทึกบัญชี ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ควรมีการพัฒนามาตรฐานการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล ให้สอดคล้องกับการวิเคราะห์ต้นทุนบริการของแต่ละระดับ ควรนำผลการศึกษาไปพยากรณ์ต้นทุนแบบลัด (Quick Method) ปีถัดไป ควรจัดอบรมทบทวนปัญหาการศึกษาต้นทุนในปีที่ผ่านมา หากสามารถลงรายละเอียดสำหรับแต่ละโรงพยาบาลได้ จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาต้นทุนในปีต่อไป

CFO & Unit cost Auditor Regional Health01 สวัสดี dherasakwongyai@gmail.com 054 409000 ต่อ 1504 08 5222 9982 สวัสดี