การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ประจำปี 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ประจำปี 2552 กพร. กรมอนามัย

กลุ่มเป้าหมาย กระทรวงนำร่องปี 2551 เพิ่มเติม ปี 2552 กระทรวงการคลัง และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 9 กรม กระทรวงพลังงาน และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 5 กรม กระทรวงอุตสาหกรรม และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด/ในกำกับ 8 กรม กระทรวงสาธารณสุข และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด 9 กรม กพร. กรมอนามัย 2

ขั้นตอนการดำเนินการตามระบบการจัดทำคำรับรองและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองระหว่างส่วนราชการระดับกระทรวงและส่วนราชการระดับกรมในสังกัด(นำร่อง) 1 2 15 16 สำนัก งาน ก.พ.ร กำหนดกรอบการประเมินผล ของกระทรวง เจรจาข้อตกลง และจัดทำ คำรับรองฯ ระดับกระทรวง ติดตามประเมินผล รอบ 6,12 เดือน ระดับกระทรวง จัดสรรสิ่งจูงใจให้ ในระดับกระทรวง ส่งผลคะแนน ให้ ก.พ.ร.รับรอง 3 5 6 8 11 14 17 กำหนดกรอบการประเมินของกรม ให้สอดคล้องกับกรอบของสำนักงาน ก.พ.ร. กรอบ 4 มิติ ปฏิทิน ขั้นตอน แบบฟอร์ม เตรียมการเจรจากับกรม วิเคราะห์ความ เหมาะ สมของ kpi , จัดทำเอกสารประกอบการเจรจา, แต่งตั้ง กก.เจรจา คณะกรรม การเจรจาข้อตกลงของกระทรวง เจรจา KPI, ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนกับผู้บริหารกรม ตรวจ สอบความถูกต้องของ คำรับรอง ตรวจสอบ KPI Template ประเมินผล วิเคราะห์ SAR รอบ 6,12 เดือน Site visit 6,12 เดือน ประเมินผล 12เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจ กำหนดหลักเกณฑ์ และจัดสรรสิ่งจูงใจให้ส่วนราชการ ระดับกรม กระ ทรวง (นำร่อง) 7 9 10 12 13 18 4 จัดทำคำรับ รอง ผู้บริหารของกรมลงนามคำรับรองกับกระ ทรวง จัดทำราย ละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ปฏิบัติราช การ ตามคำรับรอง รายงานผล กรอก e-SAR-Card รอบ 6, 9, 12 เดือน ส่งรายงาน 6,12 เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจให้แก่ข้าราช การในสังกัด กรม กำหนดยุทธศาสตร์ของกรม เสนอ kpi ตามแผน ยุทธศาสตร์ของกรม กพร. กรมอนามัย

โครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง 1. คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 2. คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในกระทรวง...... 3. คณะทำงานจัดทำคำรับรองและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... 4. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการประจำกระทรวง (ค.ต.ป. ประจำกระทรวง) ค.ต.ป. ประจำกระทรวง ของกระทรวงนำร่อง กพร. กรมอนามัย

กระบวนการจัดทำคำรับรอง กพร. กรมอนามัย ระดับกระทรวง ระดับกรม 1. กระทรวงฯจัดส่งแผนที่ยุทธศาสตร์ให้ ส.กพร. 2. ส.กพร.วิเคราะห์แผน ยุทธศาสตร์กระทรวง 3.ส.กพร.เจรจา KPIs กับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 4.จัดทำคำรับรองระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 1. กรมจัดทำแผนที่ยุทธฯ(SM)ให้ กระทรวง 2. กระทรวงแต่งตั้งคณะ กรรมการ 3 ชุด 3. คณะที่ 3 กำหนดกรอบการประเมินเบื้องต้น 4. กรมจัดทำคำรับรอง (4 มิติ) เสนอคณะที่ 3 5.คณะที่ 2 เจรจากับกรม 6. กรมจัดทำคำรับรอง 7. กรมโดยหน่วยเจ้าภาพ KPIs จัดทำรายละเอียด พร้อม Template 8. กรมรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน ระดับหน่วยงาน 1. กรมชี้แจงกรอบคำรับรอง / SM กรม 2. หน่วยงานจัดทำ SM รองรับเป้าหมายกรม 3. หน่วยงานจัดทำคำรับรอง (4มิติ)เสนอ 4. หน่วยงานเจรจาตกลงกับกรม 5. จัดพิธีลงนามคำรับรอง 6. หน่วยงานจัดทำราย ละเอียดการประเมิน KPIs ส่งกองแผน 7.หน่วยงานรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน พิธีลงนามคำรับรอง(กพ.52) ถ่ายทอดเป้าหมายสู่ระดับกรม กพร. กรมอนามัย

เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการปี 2552 ที่กรมอนามัยพิจารณาแล้ว มิติ : ประสิทธิผล(50%) มิติ : ประสิทธิภาพ(15%) กองแผนฯ/เจ้าภาพยุทธ์ การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) 8)ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน 4 กอง ค. 9) การประหยัดพลังงาน 3 สลก. 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 10)ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ 3 กอง ค. 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ 11) ระบบตรวจสอบภายใน 3 กตส. 12) แผนพัฒนา กม. 2 ศกม. ตัวชี้วัด ก.พ.ร.ปี52 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5 14) ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 20 สลก./กพร. 5) การป้องกันปราบปรามทุจริต 5 กอง จ. เจ้าภาพระบบงานฯ/คกก.สนับสนุนฯ 6) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ 5 สลก. มิติ : พัฒนาองค์กร(20%) มิติ : คุณภาพบริการ(15%) กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

เกณฑ์การพัฒนาระบบ PMQA สำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2552 กพร. กรมอนามัย

แนวคิดในการพัฒนาเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน มุ่งเน้นให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เน้นการวิเคราะห์กระบวนการอย่างเป็นระบบและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเก็บอยู่ เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล กพร. กรมอนามัย

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ประกอบด้วย 7 หมวด รวม 52 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการ และระบบงานพื้นฐาน ที่จำเป็นเพื่อตอบสนอง พรฎ.GG.ในเรื่องต่าง ๆ ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด มีแนวทาง(มีระบบ) (A) มีการนำไปใช้จริง เริ่มเกิดผล และมี (D) ความก้าวหน้า มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและ มีการพัฒนา เริ่มบูรณาการกับ (I) ระบบงานอื่น ๆ (L) กพร. กรมอนามัย

Roadmap การพัฒนาองค์การ ตัวอย่าง 2554 2552 2553 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ กพร. กรมอนามัย

ขั้นตอนดำเนินการของส่วนราชการ ทำการประเมินตนเองภายใต้กรอบ Fundamental Level ระบุจุดที่ยังต้องพัฒนา(OFI) จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุงประจำปีให้สอดคล้องกับ OFI เป็นรายหมวด โดยระบุตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจนด้วย (ส่ง มกราคม 52) ดำเนินการปรับปรุงตามแผนที่กำหนด การวัดผลความสำเร็จ (PMQA ปี 52) 1) ความสำเร็จตามเกณฑ์หมวด(3,6)ที่กำหนด 2) ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในแผน 3) ผลลัพธ์ตามหมวด 7 (ภาพรวม) 4) รายงานการประเมินตนเอง(OP & หมวด1-6) & แผนปรับปรุงปี 53 กพร. กรมอนามัย

เกณฑ์การประเมินเรื่อง PMQA ปี 2552 ลำดับ เกณฑ์ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์กร 2 หมวด - ร้อยละของจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ PMQA ขั้นพื้นฐาน ของหมวดนั้น หมวดละ 4 คะแนน) - ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักใน การบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการตามแผน(2 แผนงาน แผนละ 2 คะแนน) 8 4 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพฯขั้นพื้นฐาน (หมวด 7) 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความครบถ้วนของการประเมินองค์กร (หมวด P+52 ประเด็น) และการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร (ปี 53 รายหมวดอีก 2 หมวด) รวมคะแนนร้อยละ 20 กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

มิติที่ 1 2 3 4 1.8820 =4.50-5.00 =3.50-4.49 =2.50-3.49 =1.50-2.49 =1.00-1.49 =N/A หมายเหตุ : น้ำหนักรวม ร้อยละ 80 ยังไม่รวมคะแนนตัวชี้วัดที่ 1(ร้อยละ 20) กพร. กรมอนามัย

แนวนโยบายการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552 กพร. กรมอนามัย

โจทย์ที่กรมอนามัยต้องดำเนินการ 1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย ปัญหา คือ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบ(มิติ 2-4) ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ต้องการให้บรรลุ รวมทั้ง PMQA ก็ไม่สามารถรองรับยุทธศาสตร์ได้ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” KPI 12 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย 3 กรอบแนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA หมวด 7 กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 ให้เน้นการนำ PMQA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ โดยต้องประสานการพัฒนา PMQA เข้ากับงานประจำขององค์กร ต้องมีกลไกที่ดำเนินการที่เป็นเอกภาพและมีการ บูรณาการ (ทั้งหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ /หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน) ปรับปรุงบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานหลัก รวมทั้งทำหน้าที่ M&E ในเรื่อง PMQA ด้วย กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

กลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 1 กลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 ปรับกลไกคณะกรรมการ PMQA ให้มีความเป็นเอกภาพในการขับเคลื่อน เชื่อมโยงทุกหมวด ดูแลทั้งคำรับรองฯ และ PMQA ปรับบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ให้กับหน่วยงานเจ้าภาพ หรือ Process Owner ในทุกเรื่อง ที่ประชุมกรม (คณะกก. กพร.) กรมอนามัย คำรับรอง พัฒนาPMQA คณะกรรมการอำนวยการ CCO/ผู้บริหารหน่วยเจ้าภาพ (กพร.เป็นเลขาฯ) หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ/ Process Owner Auditor Mentor คณะกก.สนับสนุน PMQA (24 คน) Facilitator หน่วยงานย่อย คณะ กก. (ตามจำเป็น) ทีม PMQA (CA)หน่วย งานย่อย หน่วยงานย่อย คณะ กก. หมวด 1 2 3 4.1 6 4.2 5 7 กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 เพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดี จึงให้กำหนดบทบาทหน้าที่(Role and Function) ของหน่วยงานให้ชัดเจน - หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ - หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงานกลาง - หน่วยงานย่อย หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ต้องเป็นหลักในการใช้ PMQA ในดำเนินการงาน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง วางระบบงาน กระบวนงานหลัก กำลังคนที่ต้องพัฒนา และระบบ IS เพื่อให้มั่นใจว่า ยุทธศาสตร์จะบรรลุผล หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน ต้องกำหนด“ระบบงานเป้าหมาย”ที่จะพัฒนาในแผนพัฒนาองค์กร (โดยวิเคราะห์จากเกณฑ์ PMQA และ OFI ของหมวด1-6) และจัดทำแผนพัฒนา“ระบบงานเป้าหมาย” ที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ โดยจำแนกบทบาทของหน่วยงานเจ้าภาพ(PO) กับ หน่วยงานย่อยที่ประสานสอดคล้องกัน กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์ Lab) 5 การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพ 1 การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก สำนัก ส. (กอง อพ./ท./ภ.) 2 การลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น กอง อพ. (กอง ท./กอง ภ./สำนัก ส.) 3 การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในคนไทย กอง ภ.(หลัก)/กอง อ. 4 การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สำนัก ส. (กอง ท. / ภ./อ.) 5 การพัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์ Lab) 6 ส่งเสริมการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กอง สช. (ศกม./ศูนย์ Lab) กพร. กรมอนามัย

การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ 5 หมวด ระบบงานบริหารงาน (กรม) หน่วยงานเจ้าภาพ 1 กพร. สลก.(การสื่อสาร) กตส.(Internal Audit) 2 กองแผนงาน 3 สลก.ร่วมกับ กพร. 4 สนง.สนับสนุน KM 5 กองการเจ้าหน้าที่ 6 สำนัก ส./สำนัก ว. และ กองคลัง ระบบกำกับดูแลองค์การที่ดี ระบบตรวจสอบภายใน การสื่อสาร สู่บุคลากร ระบบแผนงาน และถ่ายทอด ระบบ RM ระบบการเรียนรู้ความต้องการของ C/SH ระบบการสร้างคววมสัมพันธ์ C/SH ระบบ ฐานข้อมูล ระบบ KM ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ระบบสร้างความพึงพอใจ/ความผาสุก ระบบการพัฒนากระบวนงานสร้างคุณค่า/สนับสนุน กพร. กรมอนามัย

บทบาทของเจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์/ระบบงาน 4 เจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบงาน 1.กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับนโยบายกระทรวง/กรม 1.กำหนดเป้าหมายการพัฒนาระบบที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์กรม อ./เกณฑ์ PMQA สนับสนุน 2.วางกลไกการพัฒนาระบบ 2.จัดทำ SM/SLM กรม 4.แผนRM/ ผลกระทบ(-) 3.กำหนดบทบาท 3.จัดทำSM/SLM หน่วยงาน 3.1 หน่วยงาน เจ้าภาพเอง 3.2 หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 5.กบง.หลัก 6.ระบบงาน 4.แผนปฏิบัติ & สนับสนุน 7.IS 8.HRD 9.CRM 5.แผนการประเมินผล(A3) 10.แผนKM กพร. กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

กพร. กรมอนามัย

แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ภายในปี พ.ศ. 2553 17/5/50 จัดทำแผน งานโครงการของชุมชน จัดเวทีประชาคม จัดทำโครงการเสนองบประมาณ ติดตามผลการดำเนินกิจกรรม รณรงค์ให้ชุมชนห่าง ไกลยาเสพติด ฝึกอบรมเพื่อปลูกจิตสำนึกแก่ชุมชน จัดกิจกรรมรณรงค์ สร้างขวัญและกำลังใจ ส่งเสริม/อนุรักษ์ให้เห็นความสำคัญของวัฒนธรรมภายในชุมชน จัดกิจกรรมตามจารีตประเพณี(ฮีต 12 ครอง 14) จัดทำหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น ค้นหาคนดี ศรีโพนแพง สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรฯของชุมชน และภาคีพัฒนา จัดเวทีเพื่อสร้างความเข้าใจ แกนนำระดับตำบล ประชาสัมพันธ์ ร่วมกันพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริม/สนับ สนุน ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำบัญชีครัวเรือน ส่งเสริมอาชีพในครัวเรือน ลดต้นทุนด้านการผลิต ส่งเสริมให้การ ศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ สำรวจผฝุ้ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ วางแผนร่วมกัน ติดตามประเมินผล ประชาชน ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจระหว่าง รร.และชุมชน จัดประชุมสร้างความเข้าใจบท-บาทและหน้าที่ของ รร.และชุมชน จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในวันสำคัญ ส่งเสริม และพัฒนาด้านกีฬา จัดอบรมบุคลากรด้านกีฬา ประชาสัมพันธ์เรื่องกีฬา พัฒนาศักยภาพของอสม. จัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านสาธารณสุข จัดหาวัสดุอุปกรณ์เวชภัณฑ์ยาเพื่อให้การบริการ จัดงานวัน อสม.ของโพนแพง สร้างเวทีพบปะหน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ จัดเวทีหารือร่วมกัน นำเสนอแผนงาน/โครงการ เชิญหน่วยงานภาคีลงพื้นที่ ภาคี สร้างเชื่อมร้อยเครือข่ายของกลุ่มอาชีพต่างๆ สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพต่างๆในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มต่างๆ สร้าง/ส่งเสริม ผู้ฝึกสอน ตามความสนใจ/ต้องการของแต่ละกลุ่ม สำรวจความต้องการ/ความสนใจของชุมชน จัดกลุ่มตามความต้องการ/ความสนใจ จัดทำแผน ดำเนินการฝึกอบรมความต้องการและสนใจของกลุ่ม สร้างเวทีแสดงความสามารถของชุมชน สำรวจและรวบรวมข้อมูลความสามารถของ ปชช. จัดเวทีประชาคม จัดทำแผนฯ จัดกิจกรรม ส่งเสริม/สร้าง ความตระหนักให้กับปชช.เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ สำรวจ และจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ รณรงค์เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ได้จากข้อมูลการสำรวจ ติดตาม+ประเมินผล ส่งเสริม/สร้าง /จัดตั้งสหกรณ์การเกษตร/กลุ่มอาชีพ สำรรวจกลุ่มอาชีพต่างๆ แต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่ม จัดทำแผนบูรณาการกลุ่ม สร้าง/สนับสนุนระบบติดตามประเมินผล และสามารถตรวจสอบได้ ตั้งคณะกรรมการ ศึกษาดูงานตัวอย่างดีๆ บูรณาการการบริหารจัดการแต่ละองค์กร กระบวนการ จัดตั้งและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในหมู่บ้าน พัฒนา ศสมช.เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามความต้องการของชุมชน จัดผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากรศูนย์ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ของชุมชน จัดหาสถานที่เหมาะสมจัดตั้งศูนย์ จัดหา/ส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชน สำรวจข้อมูลด้านเทคโนโลยี แยกแยะ คัดกรอง พัฒนา ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ จัดหาให้เพียงพอกับความต้องการของชุมชน ส่งเสริม อสม ให้มีบทบาทการมีส่วนร่วมในชุมชน อบรมความรู้ ความสามารถของ อสม. จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณ์การทำงาน ประเมินขีดความสามารถ อสม. ส่งเสริมการเรียนรู้ จัดการอบรม ศึกษาดูงาน จัดเวที/ตลาดนัดการเรียนรู้ของชุมชน พื้นฐาน ตัวอย่าง กพร. กรมอนามัย

แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ภายในปี พ.ศ. 2553 17/5/50 นำมาจากผังจุดหมายปลายทาง(ผู้บริหารเห็นชอบและพิจารณาแล้วว่าอยู่ในวิสัยที่จะเป็นไป)... เราต้องทำอะไร ?(ยุทธศาสตร์) จัดทำแผนงานโครงการของชุมชน จัดเวทีประชาคม จัดทำโครงการเสนองบประมาณ ติดตามผลการดำเนินกิจกรรม รณรงค์ให้ชุมชนห่างไกลยาเสพติด ฝึกอบรมเพื่อปลูกจิตสำนึกแก่ชุมชน จัดกิจกรรมรณรงค์ สร้างขวัญและกำลังใจ ส่งเสริม/อนุรักษ์ให้เห็นความสำคัญของวัฒนธรรมภายในชุมชน จัดกิจกรรมตามจารีตประเพณี(ฮีต 12 ครอง 14) จัดทำหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น ค้นหาคนดี ศรีโพนแพง สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรฯของชุมชน และภาคีพัฒนา จัดเวทีเพื่อสร้างความเข้าใจ แกนนำระดับตำบล ประชาสัมพันธ์ ร่วมกันพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ กำหนดกลยุทธ์(3-5 กลยุทธ์ต่อ 1 เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์) “เราต้องทำอย่างไร?”ซึ่งเป็นแนวทางหลักๆ ที่จะให้ได้ตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์“ไม่ใช่นำกิจกรรม มาใช้เป็นกลยุทธ์” นิยมใช้คำว่า - พัฒนา, เพิ่ม - ส่งเสริม, สนับสนุน - สร้าง,สร้างเสริม ส่งเสริม/สนับสนุน ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำบัญชีครัวเรือน ส่งเสริมอาชีพในครัวเรือน ลดต้นทุนด้านการผลิต ส่งเสริมให้การศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ สำรวจผฝุ้ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ วางแผนร่วมกัน ติดตามประเมินผล ประชาชน สร้างเวทีพบปะหน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ จัดเวทีหารือร่วมกัน นำเสนอแผนงาน/โครงการ เชิญหน่วยงานภาคีลงพื้นที่ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจระหว่าง รร.และชุมชน จัดประชุมสร้างความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของ รร.และชุมชน จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในวันสำคัญ ส่งเสริม และพัฒนาด้านกีฬา จัดอบรมบุคลากรด้านกีฬา ประชาสัมพันธ์เรื่องกีฬา พัฒนาศักยภาพของอสม. จัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านสาธารณสุข จัดหาวัสดุอุปกรณ์เวชภัณฑ์ยาเพื่อให้การบริการ จัดงานวัน อสม.ของโพนแพง ภาคี สร้างเชื่อมร้อยเครือข่ายของกลุ่มอาชีพต่างๆ สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพต่างๆในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มต่างๆ สร้าง/ส่งเสริม ผู้ฝึกสอน ตามความสนใจ/ต้องการของแต่ละกลุ่ม สำรวจความต้องการ/ความสนใจของชุมชน จัดกลุ่มตามความต้องการ/ความสนใจ จัดทำแผน ดำเนินการฝึกอบรมความต้องการและสนใจของกลุ่ม สร้างเวทีแสดงความสามารถของชุมชน สำรวจและรวบรวมข้อมูลความสามารถของ ปชช. จัดเวทีประชาคม จัดทำแผนฯ จัดกิจกรรม ส่งเสริม/สร้าง ความตระหนักให้กับปชช.เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ สำรวจ และจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ รณรงค์เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ได้จากข้อมูลการสำรวจ ติดตาม+ประเมินผล ส่งเสริม/สร้าง /จัดตั้งสหกรณ์การเกษตร/กลุ่มอาชีพ สำรรวจกลุ่มอาชีพต่างๆ แต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่ม จัดทำแผนบูรณาการกลุ่ม สร้าง/สนับสนุนระบบติดตามประเมินผล และสามารถตรวจสอบได้ ตั้งคณะกรรมการ ศึกษาดูงานตัวอย่างดีๆ บูรณาการการบริหารจัดการแต่ละองค์กร กระบวนการ จัดหา/ส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชน สำรวจข้อมูลด้านเทคโนโลยี แยกแยะ คัดกรอง พัฒนา ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ จัดหาให้เพียงพอกับความต้องการของชุมชน จัดตั้งและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในหมู่บ้าน พัฒนา ศสมช.เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามความต้องการของชุมชน จัดผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากรศูนย์ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ของชุมชน จัดหาสถานที่เหมาะสมจัดตั้งศูนย์ ส่งเสริมการเรียนรู้ จัดการอบรม ศึกษาดูงาน จัดเวที/ตลาดนัดการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริม อสม ให้มีบทบาทการมีส่วนร่วมในชุมชน อบรมความรู้ ความสามารถของ อสม. จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณ์การทำงาน ประเมินขีดความสามารถ อสม. พื้นฐาน ตัวอย่าง กพร. กรมอนามัย

แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพชุมชน ฅนเดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี ภายในปี 2550 (ระยะ 1 ปี) 12. พัฒนาความพึงพอใจในบริการสุขภาพ ประชาชน ตัวอย่าง 10.สร้างและพัฒนาแกนนำระดับชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 11.ชุมชนสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพได้ 8.อปท.และองค์กรในชุมชน มีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากรและดำเนินงานด้านสุขภาพ 9.โรงเรียนและวัดมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ ภาคี 7. องค์กรภาครัฐและเอกชน สนับสนุนและเข้าร่วม ดำเนินงานกิจกรรมด้านสุขภาพ 6. พัฒนาระบบประสานงานและการสื่อสารที่ ดีทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน กระบวนการ 4. พัฒนาระบบนิทศ ติดตามและประเมินผลที่ดี 5. สร้างระบบการประสาน แผนระหว่างองค์กร 2. พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขของรัฐให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(HA/HPP/PCU) ทุกแห่ง 3.สร้างศูนย์การดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง พื้นฐาน 1.การพัฒนาฐานข้อมูล ด้านสุขภาพ กพร. กรมอนามัย (8 ตุลาคม 2549) 26

เป้าหมายยุทธศาสตร์ กับ PMQA และระบบงานประจำ ใน “คำรับรอง” ประเด็นยุทธศาสตร์ 6 เรื่อง คำรับรองฯ 12 KPIs KPI 1-3 -เป้าหมายยุทธ์ (3 ระดับ) KPI 4 -ความพึงพอใจ KPI 5-6 -ป้องกันทุจริต -เปิดเผย KPI 8-11 -เบิกจ่าย –In. Audit –ต้นทุน –ประหยัด KPI 12 -พัฒนา กม. KPI 14 - PMQA ระบบ งานประจำ หมวด 7 (RM1-10) หมวด 1 (การนำองค์กร) หมวด 2 (แผน/ถ่ายทอด) หมวด 3 (ให้ความสำคัญ C/SH) หมวด 4 (ระบบข้อมูล,KM) หมวด 5 (HRM) หมวด 6 (กระบวนงาน) LD1-7 SP1-7 CS1-10 PMQA IT 1-7 HR1-5 เกณฑ์ 52 ประเด็น กพร. กรมอนามัย PM1-6

ระบบงานตาม Fundamental Level กำหนด C/SH & ช่องทางสื่อสาร มีระบบรับข้อร้องเรียนและจัดการ ปรับปรุงบริการ &ประกาศStd/คู่มือ การเปิดระบบราชการให้ ปชช.มีส่วนร่วม ประเมินความพึงพอใจ/ไม่พอใจ สร้างระบบความสัมพันธ์ (CRM) กำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการ การเรียนรู้ความต้องการ ของ C/SH และการสร้างความสัมพันธ์ 3 6 การพัฒนากบง.สร้างคุณค่า/สนับสนุน CS 1-10 PM1-6 การบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) 5 กำหนด กบง.สร้างคุณค่า/สนับสนุน จัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ/ออกแบบ จัดทำ SOP กบง. สื่อสารและนำไปสู่การปฏิบัติ/ปรับปรุง (PDCA) มีระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน 1 2 การนำองค์กร&กำกับดูแลองค์การที่ดี การวางแผนงาน และถ่ายทอด HR1-5 SP 1-7 จัดทำแผนพัฒนาบุคคลตามยุทธศาสตร์ การประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาเพื่อปรับปรุง การพัฒนาระบบการประเมินผลบุคคล แผนการสร้างความก้าว หน้า Career Path การสำรวจปัจจัยและปรับปรุงด้านความผาสุกและการสร้างแรงจูงใจ LD 1-7 จัดทำแผนยุทธศาสตร์(ที่มีข้อมูลนำเข้าครบ) กำหนดเป้าหมายกลยุทธ์ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง 4 ด้าน(กลยุทธ์/ IT/GG /กบง.) การสื่อสารสู่บุคลากร การ Cascading สู่หน่วย งานย่อยเป็นคำรับรองฯ การถ่ายทอดสู่บุคคล การติดตาม/ประเมินผล การทบทวนและนำผลการทบทวนปรับปรุงงาน กำหนดวิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าประสงค์ มีนโยบายการกำกับดูแลแลองค์การที่ดี การมอบหมายอำนวจ การสร้างบรรยากาศ/แรงจูงใจ ติดตามกำกับและทบทวนเป้าหมาย ระบบข้อมูลรองรับแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ/กระบวนงานหลัก/สนับสนุน/คำรับรองฯ ระบบสารสนเทศรองรับ C/SH และ บุคลากร ระบบ warning system เพื่อรับรู้ปัญหาที่ทันกาล มีการบริหารความเสี่ยงระบบข้อมูล 4.1 การตรวจสอบภายในและระบบควบคุมภายใน ระบบ ฐานข้อมูล ได้แผนยุทธศาสตร์ (4ปี) & แผนปฏิบัติการรายปี IT 1-7 ระบบ KM 4.2 กพร. กรมอนามัย

ภายนอก ภายใน กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหมวด 7 PMQA ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง RM1 ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจ/ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ RM2 Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ RM5 การเบิกจ่าย งบลงทุนที่มี ประสิทธิภาพ การใช้ พลังงานมี ประสิทธิภาพ มีระบบการบริหาร ความเสี่ยง RM6 กระบวนงานสร้างคุณค่า และ กระบวนงานสนับสนุน ที่ได้ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP (2 ตัว) RM3 ภายใน RM4 Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย การจัดการ ความรู้(KM) RM9 ระบบการกำกับ ดูแลองค์กรที่ดี RM10 RM7 RM8 Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ : ตัวชี้วัดหมวด 7 (อาจเป็น Tailor made) โดยการเจรจา ข้อตกลง กับกระทรวง กพร. กรมอนามัย : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ 29 กพร. กรมอนามัย 29

เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย ?? ปี ?? รางวัลคุณภาพแห่งชาติ(TQA) 650 คะแนน) ปี 54 ปี 53 รางวัล“คุณภาพแห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) ปี 52 รางวัล PMQA “Success-ful Level” รางวัล PMQA “Fundamental Level” (52 ประเด็น) กพร. กรมอนามัย

การตั้งธงในการพัฒนาระบบ PMQA END 400 ข้อเสีย (ของเดิม) -ต้องอธิบายเกณฑ์ ใหม่ทุกปี -เกณฑ์เป็นแท่งๆ ไม่เชื่อมโยงกัน 300 รางวัล“คุณภาพแห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) Mean เกณฑ์ PMQA /TQA (90 คำถาม) 200 Successful Level 100 Fundamental Level ข้อดี : (ของใหม่) -เห็นเป้าหมายระยะ ยาวชัดเจน -มีการพัฒนาเกณฑ์ อย่างต่อเนื่องในระยะ เวลาพอสมควร 48 52 53 54 เหมือนกัน/เรียนรู้มาแล้ว กพร. กรมอนามัย

ระบบงานที่รองรับเกณฑ์ PMQA (FL 52 ประเด็น) ระบบการนำองค์การ (กพร.) ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล (กอง ผ.) ระบบการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH (สลก.) ระบบข้อมูลสารสนเทศ(กอง ผ.) ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล (กอง จ.) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานสร้างคุณค่าและกระบวนงานสนับสนุน (สส./สว./กอง ค.) การสื่อสารภายในองค์การ (สลก.) ระบบการจัดการความรู้ขององค์การ (สทป./สนง.KM) Jigsaw กพร. กรมอนามัย

กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ กระบวนการสร้างบรรยากาศ/มอบหมาย ระบบการนำองค์การ หมวด 2 วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ LD 1 กระบวนการกำหนด ทิศทางองค์การ หมวด 2 ระบบติดตามประเมินผล หมวด 4 LD 4 LD 1 ระบบสื่อสาร กระบวนการทบทวนผลการดำเนินงาน กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ Two ways communication หมวด 1 LD 5 LD 2 กระบวนการกำกับ ดูแลองค์การที่ดี กระบวนการสร้างบรรยากาศ/มอบหมาย ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม LD 2 มอบอำนาจ LD 7 หมวด 3 ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 6 LD 3 LD 6 ด้านองค์การ การเรียนรู้ขององค์การ สร้างแรงจูงใจ หมวด4.2 หมวด 5 ด้านผู้ปฏิบัติการ กพร. กรมอนามัย ระบบประเมินผลผู้บริหาร

ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล กพร. กรมอนามัย

กระบวนการรอง 1.1 การจัดทำแผนภาพ (Flow Chart) การดำเนินงาน 1.2 การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์(รวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์) 1.3 การทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ฯ 1.4 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ 1.5 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนบริหารทรัพยากร แผนบริหารความเสี่ยง 1.6 การจัดทำ MTEF 1.7 การจัดทำความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ 1.8 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติการประจำปี (ตามกรอบเวลา) 2.1 การกำหนดกลไกการสื่อสารและถ่ายทอดแผนปฏิบัติราชการ 2.2 การสื่อสารทำความเข้าใจแผน 4 ปี แผนประจำปี 2.3 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน 2.4 การจัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการ ของหน่วยงาน 2.5 การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน 2.6 การจัดทำรายละเอียด แผนงานโครงการของหน่วยงาน 3.1 การกำหนดกลไกการติดตามประเมินผล 3.2 การจัดทำ/ทบทวนระบบรายงานผลการดำเนินงาน 3.3 การรายงานผล 3.4 การจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงาน ตัววัดต่าง ๆ 4.1 การสร้างช่องทางเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.2 การทบทวนแผน/ผล 4.3 การจัดทำฐานข้อมูลความรู้การดำเนินงาน กพร. กรมอนามัย

กพร. กรมอนามัย

(4.1) ระบบข้อมูลสารสนเทศ IT 1,2,3,4 4.3 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ IT 5 4.2 กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ 4.4 กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.5 กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน 4.5 กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร กพร. กรมอนามัย

(4.2) ระบบการจัดการความรู้ การจัดทำแผนสนับสนุนการจัดการความรู้ของKM team การจัดทำแผน KM ที่รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน การสร้างความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งExplicit /Tacit K ด้วยรูปแบบต่างๆ การจัดทำระบบคลังความรู้(ด้านElectronic) การประเมินผลการจัดการความรู้ขององค์การ กพร. กรมอนามัย

HR 3 การปรับปรุงระบบงาน HR 3 วางแผนและบริหารกำลังคน(ปริมาณและคุณภาพ) นโยบาย/แผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคล (หมวด 1+2) HR 3 แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลตามแนวทาง HR scorecard HR1 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร บรรยากาศในการทำงาน+แรงจูงใจ(การยกย่องชมเชย(HR3)) HR 3 การปรับปรุงระบบงาน -การมอบอำนาจการตัดสินใจ -ความคล่องตัว -การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารจัดการ HR 3 การสรรหา คัดเลือก และการรักษาบุคลากร ผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) HR 3 การพัฒนาบุคลากร - การประกันคุณภาพการฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผล และความคุ้มค่า (HR4) HR 2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน HR 5 การสร้างความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน - บุคลากรทั่วไป - Talent/HIPPสายงานหลัก (HR3) - สืบทอดตำแหน่งบริหาร (HR3) HR 3 วางแผนและบริหารกำลังคน(ปริมาณและคุณภาพ) HR 3 – การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล - การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล กพร. กรมอนามัย การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (หมวด 4)

(6) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงาน สร้างคุณค่า / สนับสนุน การกำหนด/ทบทวนข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM2 การกำหนด/ทบทวนกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM1 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM3 กระบวนการสร้างคุณค่าที่รองรับต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน PM4 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานSOP ของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM5 การนำSOPไปปฏิบัติการปรับปรุงกระบวนการ สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน PM6 กพร. กรมอนามัย

กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร ระบบการสื่อสาร กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร 1.1 ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ระบบการสื่อสาร 1.2 สำรวจความต้องการประเด็นการสื่อสาร 1.3 สรุปผลสำรวจประเด็นการสื่อสาร 2. กระบวนการวางแผน และดำเนินการสื่อสารตามแผน 3. กระบวนการติดตามและประเมินผล Out Put = การรับรู้การสื่อสาร ระบบการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กร กพร. กรมอนามัย

(3) ระบบการเรียนรู้ความต้องการสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH ระบบงานของกรมอนามัย (3) ระบบการเรียนรู้ความต้องการสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH 7.1 กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร 7.2 กระบวนการวางแผน / ดำเนินการสื่อสาร 7.3 กระบวนการติดตามและประเมินผล (7) ระบบการสื่อสารภายในฯ 1.1 กระบวนการกำหนด ทิศทางองค์การ LD 1 1.2 กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ 1.3 กระบวนการสร้างบรรยากาศ LD 2 1.4 กระบวนการกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 5 1.5 กระบวนการทบทวนผลการดำเนินงาน LD 4 (1) ระบบการนำองค์การ CS1 3.1กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดกลุ่ม C/SH 3.2 กระบวนการรับฟังและ รวบรวมความเห็นของ C/SH 3.4 กระบวนการเปิดโอกาสให้ C/SH มีส่วนร่วม (5 ระดบ) CS2 CS6 3.3 กระบวนการจัดการข้อร้องเรียนของ C/SH 3.5 กระบวนการปรับปรุงคุณภาพบริการ CS4 CS2,3 CS5 กระบวนการกำหนด Std./วิธีการ/ระยะเวลาการให้บริการ (ประกาศ/คู่มือ/แผนภูมิการให้บริการ) 6.กระบวนการสร้างเครือข่าย/กิจกรรมสัมพันธ์ กับ C/SH CS9 2.2 กระบวนการสื่อสารและถ่ายทอดไปสู่ การปฏิบัติ 2.1.กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการ 4ปี / รายปี 2.3 กระบวนการ ติดตามประเมิน 2.4 กระบวนการ ทบทวนแผน / ผล (2) ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล SP 1, 2,3,6,7 SP 2,4 SP 4,5,6 SP 5,6 (4) ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.1 กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ 4.5 กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร 4.4 กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.3 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.2 กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ 4.5 กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน IT 1,2,3,4 IT 5 IT 6 8. กระบวนการติดตาม ประเมินผลการปรับปรุงคุณภาพบริการ CS10 9. กระบวนการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของ C/SH CS7,8 การกำหนด/ทบทวนกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM1 การกำหนด/ทบทวนข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM2 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM3 กระบวนการสร้างคุณค่าที่รองรับต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน PM4 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานSOP ของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM5 การนำSOPไปปฏิบัติการปรับปรุงกระบวนการ สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน PM6 (6) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานสร้างคุณค่า / สนับสนุน HR 3 การวางแผนและบริหารทรัพยากรบุคคล HR1 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร บรรยากาศในการทำงาน+แรงจูงใจ(การยกย่องชมเชย(HR3)) HR 3 การสรรหา คัดเลือก และการรักษาบุคลากร HR 5 การสร้างความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน - บุคลากรทั่วไป - Talent/HIPPสายงานหลัก - สืบทอดตำแหน่งบริหาร HR 3 การพัฒนาบุคลากร - การประกันคุณภาพการฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผล และความคุ้มค่า (HR4) HR 3 การปรับปรุงระบบงาน -การมอบอำนาจการตัดสินใจ -ความคล่องตัว -การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารจัดการ HR 3 – การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล - การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล HR 2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (5) ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดทำแผนสนับสนุนการจัดการความรู้ของKM team การจัดทำแผน KM ที่รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน การสร้างความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งExplicit /Tacit K ด้วยรูปแบบต่างๆ การจัดทำระบบคลังความรู้(ด้านElectronic) (8) ระบบการจัดการความรู้ การประเมินผลการจัดการความรู้ขององค์การ กพร. กรมอนามัย

รางวัล PMQA ภาพรวม กับ ภาพหน่วยงานย่อย PMQA(FL) กรมอนามัย ศูนย์อนามัย สำนัก/กอง กพร. กรมอนามัย

ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 1 1.1 การกำหนดนโยบาย และทิศทาง 4 ด้าน 11 เรื่อง 1.2 การติดตามกำกับ/ทบทวน จัดประชุมผู้บริหารเพื่อกำหนด และปฏิบัติตามนโยบาย หน่วยรับผิดชอบนโยบายรวบรวมประเมินผลนโยบายแต่ละด้านตามที่ได้รับมอบ หมาย ร่วมกำหนดและปฏิบัติตามนโยบาย รายงานผลการปฏิบัติส่งหน่วยรับผิดชอบนโยบาย 2 2.1 การจัดทำแผนยุทธ-ศาสตร์(4ปี) และ แผน ปฏิบัติการประจำปี 2.2 การติดตามกำกับและทบทวนผลงานและแผนงาน จัดเวทีทำแผนยุทธ์และร่วมจัดทำแผน พัฒนาระบบงานสนับสนุน รวบรวมเป็นแผนยุทธ์กรม และการDeploy สู่หน่วยย่อย วางระบบการราย- งาน(DOC)รองรับ วิเคราะห์ผลงานในภาพรวมตาม KPIsที่สำคัญเสนอผู้บริหาร เป็นหลักจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่ประ-สานPIRAB/PMQAครอบคลุม 4 มิติ วิเคราะห์ความเสี่ยง/ผล กระทบทางลบ ดำเนินการตามแผน กำหนด KPIsที่สำคัญ ติดตามผลและราย งานผลงาน (DOC) วิเคราะห์ผลงานเสนอผู้บริหาร ร่วมพิจารณาในการจัดทำแผนยุทธ์/ตามภารกิจ ดำเนินการตามแผนความเสี่ยง/ผลกระทบทางลบ รายงานผลงานสู่ DOC ร่วมวิเคราะห์ผลงานที่เกี่ยวข้อง กพร. กรมอนามัย

ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 3 3.1 ระบบการรับฟัง C/SH 3.2 ระบบการจัดการข้อร้อง เรียน 3.3 ระบบการเปิดโอกาสให้ ปชช. มีส่วนร่วม 5 ระดับ 3.4 การสร้างเครือข่าย&กิจกรรมสัมพันธ์ 3.5 การกำหนดบริการที่จะปรับปรุงและวัดความพึงพอใจ วางระบบ & จัดทำแบบสำรวจกลาง จัดช่องทางรับเรื่อง & แจ้งหน่วยที่เกี่ยวข้องจัดการ ประสาน/รวบรวมผลงาน จัดเวทีเพื่อกำหนดบริการและแบบประเมินความพึงพอใจ จัด Focus Gr.รายประเด็นยุทธ์ จัดการข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการสำรวจ (ศอ.1-12) จัดช่องทาง & จัด การข้อร้องเรียน 4.1 4.1.1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางตามยุทธ์และพันธกิจ รวมทั้งระบบงาน 4.1.2 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง/เตือนภัย/ความเสี่ยง จัดการระบบข้อมูล /พัฒนาระบบ IT&การใช้ประโยชน์ เป็นแกนดำเนินการพัฒนา ร่วมเสนอความต้องการ &ใช้ประ โยชน์ & รายงาน ร่วมพิจารณา & ดำเนินการตามเกณฑ์ ร่วมเสนอความต้องการ&ใช้ประ โยชน์ & รายงาน ทุกหน่วยวิเคราะห์เนื้องานที่จะเปิดโอกาสตามระดับที่เหมาะสม กำหนดกิจกรรมสัมพันธ์กับ C/SH ตามยุทธศาสตร์และพันธกิจ ร่วมพิจารณาบริการและจัด ทำแบบประเมิน ร่วมพิจารณาและดำเนินการสำรวจ กพร. กรมอนามัย

หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพ ระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 4.2 4.2.1 การจัดทำแผนจัดการความรู้และดำเนินการ 4.2.2 การจัดทำระบบคลังความรู้ จัดทำแผนสนับสนุน KMให้เจ้าภาพยุทธ์/หน่วยงานย่อย วางระบบ IT รองรับความรู้กลาง จัดทำแผน KM รองรับยุทธศาสตร์&ดำเนินการ(3เรื่อง) สร้างความรู้/สรุปบทเรียนส่งคลังความรู้กลาง จัดทำแผน KM ของหน่วยงานย่อย &ดำเนินการ 5 5.1 การวางแผนและบริหารกำลังคน 5.2 จัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป็นแกนจัดทำแผนบริหารกำลังคน - Role Profile - วิเคราะห์ปริมาณ/ คุณภาพ - การสรรหา/เกลี่ย กำลังคน - Career path เป็นแกนจัดทำแผน พัฒนาฯภาพรวม - รองรับยุทธ์/ภารกิจ - จัดทำกรอบการทำ IDP / HiPPS - พัฒนาเรื่องกลางๆ - Succession Plan - กรอบการประเมิน บุคคล ร่วมพิจารณาเกณฑ์ /เสนอความต้อง การ ร่วมเสนอความเห็น &ดำเนินการในฐานะ Line Manager พัฒนาในเรื่องวิชาการเฉพาะ จัดทำ Performance Managementและประเมิน ร่วมพิจารณาเกณฑ์ /เสนอความต้องการ ร่วมเสนอความ เห็น & ดำเนินการในฐานะLine Manager กพร. กรมอนามัย

ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 5 (ต่อ) 5.3 การสร้างความผาสุก/ความพึงพอใจของบุคลากร เป็นแกนวิเคราะห์ปัจจัยการสร้างความผาสุก & จัดทำแผน ประเมินผล/ดำเนิน การอย่างต่อเนื่อง ร่วมวิเคราะห์ และ ดำเนินการตามแผนในฐานะ Line manager 6 6.1 การกำหนดกระบวนงานที่จะปรับปรุงและพัฒนา 6.2 การปรับปรุงพัฒนากระบวนงาน เป็นแกนทำเกณฑ์ & จัดเวทีสนับสนุน & ร่วมจัดทำ SOP จัดเวทีประเมินผล/ลปรร. เพื่อพัฒนาปรับปรุง วิเคราะห์/กำหนดกระบวนหลัก/สนับ สนุน &จัดทำ SOP ปฏิบัติตาม SOP & ร่วมประเมินผล ร่วมวิเคราะห์/กำหนดกระบวนหลักสนับ สนุน &จัดทำ SOP ปฏิบัติตาม SOPร่วมประเมินผล 7 7.1 การสื่อสารภายในองค์การ วางระบบการสื่อสาร & ดำเนินการสื่อสารให้บุคลากรรับรู้ เสนอเรื่องที่จะสื่อสารภายใน ดำเนินการสื่อสารภายในหน่วยย่อย กพร. กรมอนามัย

ความก้าวหน้า ในการกำหนดตัวชี้วัดความเป็นองค์กรหลัก ความท้าทายขององค์กร กรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

ความคิดรวบยอด (Conceptual) ในการพัฒนาองค์กร เทียบกับ การพัฒนาบุคคล เป็นคนมีผล งานในหน้าที่รับผิดชอบ Vision Mission Objectives Strategies High Per-formance ตามพันธกิจ เป็นคนเก่งในอาชีพตน (แพทย์/ครูตำรวจ/ฯลฯ) เป็นองค์กรหลักด้านHP./Env.H. เป็นคนดี (มีจริยธรรม /คุณธรรม/ฯลฯ) เป็นองค์กรธรรมาภิบาล หน่วยงานวิชาการ องค์กรจึงต้องตอบสนอง - ประเด็นยุทธศาสตร์(เนื้องาน) - ลักษณะขององค์กรหลัก - การบริหารแบบธรรมาภิบาล แผนปฏิบัติการ กรมอนามัย หน่วยงานอำนวยการ กพร. กรมอนามัย

กรมอนามัย วิสัยทัศน์ “เป็น องค์กรหลักของประเทศ ในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” พันธกิจ 1) การผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และ นวัตกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย (Innovation and Technical Development) 3) การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับเครือข่าย รวมไปถึงการผลักดันและสนับสนุนให้เครือข่ายดำเนินงานเป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมาย (Supporting and Facilitating) 2) การพัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และ กฎหมาย ที่จำเป็น ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ (Policy and Regulation Advocacy) 4) การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง รวมไปถึงระบบที่เกี่ยวข้อง โดยการเฝ้าระวัง กำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อนำมาสู่การพัฒนานโยบายกฎหมาย และ ระบบอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ (System Capacity Building) กพร. กรมอนามัย

ศูนย์การพัฒนา ขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน วิสัยทัศน์กรมอนามัย “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” องค์กรหลัก ศูนย์การพัฒนา ขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน 4 เป็นผู้แทน / ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ 5 1 3 เป็นศูนย์ องค์ความรู้ / Technology /นวัตกรรม เป็นแกนหลัก ในการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบงาน เป็นหลักในการสร้าง/ผลักดันนโยบายและกฎหมาย 2 กพร. กรมอนามัย

ลักษณะขององค์กรหลัก ตัวชี้วัด (KPI) 1) เป็นศูนย์องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Knowledge & Communication Center) 1.1) มิติด้าน Facility มี. Knowledge & Communication Centerทั้งในระดับชาติ ระดับกรม / กอง / ศูนย์ - ที่มีข้อมูลข่าวสารครอบคลุมงาน HP./Env.H ครบถ้วนทั้งด้านองค์ความรู้ เทคโนโลยี รูปแบบการให้บริการ และนวัตกรรม - ที่บุคลากรและประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย 1.2) มิติด้านบุคลากร - มีบุคลากรที่มีสมรรถนะ (Competency) 3 ด้าน คือ ด้านประเมินบ่งชี้สถานการณ์(Assessment) ด้านการสื่อสาร(Communication) และด้านการจัดการ(Management) เสนอแนวทาง/พัฒนานวัตกรรมได้ - มีผลงานวิชาการ เผยแพร่สู่สาธารณะ 2) เป็นแกนหลักในการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบงาน HP./Env.H. (System Strengthening Center) 2.1) มีรูปแบบระบบการบริหารจัดการด้าน HP.& Env H. ที่เชื่อมโยงกับส่วนราชการอื่น / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น / ภาคชุมชน โดยการสังเคราะห์ขึ้น หรือ เติมเต็มระบบงานที่มีอยู่แล้ว ให้มีความเข้มแข็งและพัฒนาต่อไปได้อย่างยั่งยืน กพร. กรมอนามัย

ลักษณะขององค์กรหลัก ตัวชี้วัด (KPI) 3) เป็นแกนหลักในการสร้าง /ผลักดันนโยบายและกฎหมาย (Policy & Regulation Center) 3.1) มีนโยบายสาธารณะ / กฎหมาย ที่เอื้อและสนับสนุนให้ระบบงานส่งเสริมสุขภาพและการอนามัยสิ่งแวดล้อมมีความเข้มแข็ง 4) เป็นศูนย์การพัฒนาขีดความสามารถของเครือ ข่ายและประชาชน(Training Center) 4.1) เป็นศูนย์ฝึกอบรมให้กับเจ้าหน้าที่จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่าย และ ภาคประชาชน 4.2) มีหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพที่เป็นที่ยอมรับ และ มีระบบควบคุมคุณภาพการฝึกอบรม 4.3) มีนักวิชาการที่เป็นวิทยากรมืออาชีพ 5) เป็นผู้แทนประเทศและศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ (International Collaboration Center) 5.1) เป็นศูนย์การแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างประเทศ และการจัดประชุมนานาชาติ 5.2) ได้รับการยอมรับ(Recognize) และได้รับเชิญในฐานะผู้เชี่ยวชาญของประเทศไทย ในการเข้าร่วมการประชุมนานาชาติ กพร. กรมอนามัย

ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย ความทาทายเชิงยุทธศาสตร สิ่งที่ทาทาย 1) ด้านพันธกิจ (หมวด 2) -การเป็นศูนย์สารสนเทศ(Knowledge & Communication center) ในงานส่งเสริมสุขภาพและการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ 2) ด้านปฏิบัติการ (หมวด 6) -ระบบเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ -ระบบการกำกับประเมินผล(M&E)ที่มีประสิทธิภาพ 3) ด้านทรัพยากรบุคคล (หมวด 5) -บุคลากรเป็นมืออาชีพที่สามารถผลิตข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพที่ไวต่อการเปลี่ยน-แปลงของสังคมได้ (2 คำถาม/1 เสนอ) กพร. กรมอนามัย

การจัดทำกระบวนการสร้างคุณค่า (Value Chain) ของกรมอนามัย กพร. กรมอนามัย

Mission : พันธกิจ การผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และ นวัตกรรม (Innovation and Technical Development) เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย การพัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และ กฎหมาย ที่จำเป็น (Policy and Regulation Advocacy) ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ การถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับเครือข่าย (Transfer technology and Facilitation) รวมไปถึงการผลักดันและสนับสนุนให้เครือข่ายส่งเสริมสุขภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพ การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง (System Capacity Building) ซึ่งครอบคลุมทั้งระบบการเฝ้าระวัง การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อนำมาสู่การพัฒนานโยบายกฎหมาย และ ระบบอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ  กพร. กรมอนามัย

Value Chain กรมอนามัย (เดิม) Level 1 ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งต่อ /ส่ง มอบ สินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนากลไก การส่งมอบสินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม Level 2 ผลิตและพัฒนา Product &Process Innovation (Knowledge/ชุดความรู้ /Service Model /Technology) ) / นโยบายสาธารณะ และกฎหมาย พัฒนาระบบและสร้างกลไกการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และกฎหมาย ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและบริการให้ ผู้รับมอ(Intermediate Customer) Level 3 กระบวนงานผลิตพัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาผลักดันสนับสนุนให้เกิดนโยบายกฏหมายที่จำเป็นด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาและสร้างกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม การถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม สื่อสารมวลชน การเฝ้าระวัง ศึกษาวิจัย นโยบายสาธารณะ ฝึกอบรม(ประชุม/อบรม/สัมมนา) การจัดทำ(พัฒนา) เกณฑ์มาตรฐาน /คู่มือ/หลักสูตร การกำกับติดตาม และประเมินผล กฎหมาย การรณรงค์เพื่อสร้างกระแสสุขภาพ สร้างความเข้มแข็ง ภาคีเครือข่าย การพัฒนาศักยภาพ ภาคีเครือข่าย การสร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย การบริหารความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย กพร. กรมอนามัย -กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง - กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ

แนวความคิดในการจัดทำ Value Chain (ตามแนวทางของ อ.บดินทร์ วิจารณ์) 1) การกำหนด ระบบงาน (Work System) ขององค์การในภาพรวม จะต้องพิจารณา 1.1) พันธกิจขององค์การตามกฎหมาย 1.2) ด้าน Value Chain : ผู้รับบริการ (Customer) 1.3) ด้าน Supply Chain : คู่ค้า (Partner) คู่ความร่วมมือ (Collaborator) เครือข่าย (Network) 1.4) กำหนด Core Capabilities หรือความสามารถที่โดดเด่น เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดว่า ระบบงานไหนเราทำ และ ระบบงานไหนเพื่อนเราทำ 2) เลือกตัวแบบการกำหนดกระบวนการทำงาน (Process Level 0) 3) กำหนดระบบงาน (Work System) ที่เป็นสิ่งที่ต้องทำ (Must Be) ไม่ใช่ทางเลือก กพร. กรมอนามัย

แนวความคิดในการจัดทำ Value Chain (ตามแนวทางของ อ.บดินทร์ วิจารณ์) 4) กำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า (Value Creation Process) 5) กำหนดกระบวนงานสนับสนุนที่สำคัญต่อกระบวนการสร้างคุณค่า 6) กำหนดข้อกำหนดของกระบวนการที่สำคัญ โดยนำข้อมูลจากลูกค้า ผู้ส่งมอบ คู่ค้า และคู่ความร่วมมือ 7) กำหนดกระบวนการระดับ 2 (Process) และ ระดับ 3 (Procedure) 8) การวางระบบงาน และ กระบวนการสร้างคุณค่าในระดับ 0 ระดับ 1 และ ระดับ 2 เป็นเรื่องของผู้บริหารระดับสูง ส่วนการแปลงเป็นระดับ 2 เป็นระดับ 3 เป็นเรื่องของผู้บริหารระดับกลาง และ ระดับ 4 และ ระดับ 5 จะเป็นเรื่องผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ ต้องสอดคล้องกันทั้งองค์การ กพร. กรมอนามัย

นิยาม ลูกค้า (Customer) = 1)ผู้ที่เป็นผู้ใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการขององค์การโดยตรง 2) ผู้ซื้อผลิตภัณฑ์หรือบริการเพื่อจำหน่ายต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) = กลุ่มทุกกลุ่มที่ได้รับผลกระทบหรืออาจได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติการและความสำเร็จขององค์การ คู่ค้า (Partner) = องค์กรหรือบุคคลที่สำคัญที่ตกลงทำงานร่วมกับองค์การ เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ร่วมกัน หรือ เพื่อปรับปรุงผลการดำเนินการ (ปกติจะเป็นทางการ) คู่ความร่วมมือ (Collaborator) = องค์กรหรือบุคคล ที่มีความร่วมมือในการดำเนินงานกับองค์การ /ที่จะสนับสนุนในการจัดงานหรือกิจกรรมบางส่วนเมื่อมีเป้าหมายระยะสั้นที่สอดคล้องกันหรือเหมือนกัน (ปกติไม่เป็นทางการ) กพร. กรมอนามัย

Customer Relationship Infrastructure Customer Core Cap. องค์กรนโยบาย/วิชาการด้าน PH.&Env.H. กำหนดหลักสูตรด้าน PH.&Env.H. กำหนดมาตรฐาน HP.& Env.H. ออกกฎหมาย Partner Network หน่วยงานภายใน สธ. (กรมต่างๆ/สป./สสจ. /รพศ./รพท./ รพช.) องค์กรอิสระ (สปสช. /สสส./สช.) หน่วยงานภายนอก สธ. ( หระทรวง พม./มท. /ศษ./ทรัพยฯ/รง./อก.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา Customer Relationship Target Customer ประชาชนตามกลุ่มวัย สถานประกอบกิจการเป้าหมาย Distribution Channel Stakeholder - หน่วยงาน ภายใน อปท. สถาบันการ ศึกษา Collaborator -สื่อมลชน -ภาคเอกชน (สมาคม/ชมรม อสม.) Value Configuration Offer องค์ความรู้สำหรับประชาชน ผลผลิต/รูปแบบบริการ/ระบบส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ผลผลิต/รูปแบบระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในกลุ่ม Setting กพร. กรมอนามัย

การพิจารณากำหนดสินค้ากรมอนามัย Product (เดิม) พันธกิจ Product (ตามพันธกิจ) Product (ใหม่) 1) องค์ความรู้นวัตกรรม(Innovation & Technical development) 2) นโยบายสาธารณะ /กฎหมาย และมาตรฐาน 3) ชุดความรู้ และ บริการสาธิต 1) การผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และ นวัตกรรม 2)การพัฒนา ผลักดันให้เกิดนโยบาย และกฎหมาย 3) การถ่ายทอดองค์ความรู้ /สนับสนุน 4) พัฒนาระบบให้เข้มแข็ง 1) Innovation แบ่งเป็น 1.1) Product Inno. (Knowledgeชุดความรู้/เกณฑ์ Std.) 1.2) Process Inno. (Service Model / Technology) 2) Information(ข้อมูล) 3) นโยบายสาธารณะ 4) กฎหมาย 5) หลักสูตร และ รูปแบบการถ่ายทอด 6) รูปแบบระบบเฝ้าระวัง 7) รูปแบบระบบการรับรองมาตรฐาน 1) Knowledge (ชุดความรู้/เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ) 2) Innovation (Service Model / Technology) 5)รูปแบบระบบ (การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) กพร. กรมอนามัย

การวิเคราะห์ C/SH จำแนกตามสินค้า/บริการ Partner Customer/ผู้รับ บริการ Distribution Channel 1) Knowledge (ชุดความรู้/เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ) 1.หน่วยราชการภายในกระทรวง (กรมต่างๆ/สป./สสจ. /รพศ./ รพท./ รพช.) 2.หน่วยราชการภายนอกกระทรวง (กท.มท./กท.ศษ. /กท.พม./กท.รง./กท.ทส.) 3.องค์กรอิสระ(สปสช./สสส./สช.) 4.สถาบันการศึกษา 1.ประชาชน 2.หน่วยราช การภายในและนอกกระทรวง 1.หน่วยราช การภายในกระทรวงสธ. 2.หน่วยราช การภายนอกกระทรวงสธ. 3.องค์กรอิสระ 5.สื่อสารมวลชน 6.ภาคเอกชน 2) Innovation (Service Model / Technology) 1.หน่วยราชการภายในกระทรวง 2.องค์กรอิสระ 1.หน่วยราช การภายในและนอกกระทรวง ,, ______ ,, 3) นโยบายสาธารณะ 4) กฎหมาย 1.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.หน่วยราชการภายในกระทรวง 3. องค์กรอิสระ 4. หน่วยงานภายนอกกระทรวง 2.หน่วยราช การภายในกระทรวงสธ. 5)รูปแบบระบบ (การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) 1.องค์กรอิสระ 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กพร. กรมอนามัย

การประยุกต์ Value Chain ของ Medrad (Award Winner) Level 0 ของ Medrad Market, Sell, Delivery & Support Product & Service Develop Products and Services Identify Customer Needs End User Customer Produce Product End User Customer Level 0 ของกรมอนามัย Marketing, Support Product & Service after Delivery Develop Products and Services Integrated to Package of Products and Services Identify Customer Needs End User Customer Production Delivery End User Customer Level 1 การเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวังของ C/SH และการเฝ้าระวัง (S) ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาองค์ ความรู้/ เทคโนโลยี/ นวัตกรรม และ รูปแบบการ ให้บริการ (R&D) การบูรณาการผลผลิตและบริการงาน HP.และ Env.H.ตามกลุ่มอายุและ Setting Transfer /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและ บริการให้ ผู้รับมอบ (Intermediate Customer) การตลาด ติด ตามสนับสนุนและสร้างความ สัมพันธ์กับผู้รับมอบหลังการให้บริการ (M&E) ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ กพร. กรมอนามัย

บทบาทของPartner /Collaborator/Stakeholder Level 1 Value Creation Process การเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวังของ C/SH และการเฝ้าระวัง (S) ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาองค์ ความรู้/ เทคโนโลยี/ นวัตกรรม และ รูปแบบการ ให้บริการ (R&D) การบูรณาการผลผลิตและบริการงาน HP.และ Env.H.ตามกลุ่มอายุและ Setting Transfer /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและ บริการให้ ผู้รับมอบ (Intermediate Customer) การตลาด ติด ตามสนับสนุนและสร้างความ สัมพันธ์กับผู้รับมอบหลังการให้บริการ (M&E) ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ Business Needs Product Service Model Partner/ Stakeholder /Collaborator and System Capacity Building Distribution Channel Out Put Stakeholder (1.หน่วยภายใน กสธ. 2.หน่วยภาย นอก กสธ.3.องค์กรอิสระ 4.สถาบันการ ศึกษา) (1) Information (2) Innovation แบ่งเป็น -Product Innovation (Knowledge/ชุดความรู้) -Process Innovation (Service Model/ Technology) (3) Policy (4) กฎหมาย (Regulation) การถ่ายทอด (อบรม/ประชุม/สัมนา /ศึกษาดูงาน/สาธิต / Advocate) การรับรองมาตรฐาน การตลาด การติดตาม/สนับสนุนการให้บริการ การสร้างความ สัมพันธ์(CRM) การประเมินผลเพื่อพัฒนาปรับปรุง Partner Network (1.หน่วยภายใน กสธ. (กรมต่างๆ /สป./สสจ. /รพศ./ รพท./รพช.) 2.หน่วยภายนอก กสธ. (กท.มท./กท.ศษ./กท.พม./กท.รง./กท.ทส.) 3.องค์กรอิสระ(สปสช./สสส. /สช.) 4.สถาบันการศึกษา 5.องค์กรปกครองส่วนท้อถิ่น) Collaborator (5.สื่อสารมวล ชน 6.ภาคเอกชน(สมาคม/ชมรม/อสม.) สินค้า บริการ กพร. กรมอนามัย

การวิเคราะห์ Value Chain (Level 2) ของกรมอนามัยตามพันธกิจ (ตอนแรก) Value Creation Process การเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวังของ C/SH และการเฝ้าระวัง (S) ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาองค์ ความรู้/ เทคโนโลยี/ นวัตกรรม และ รูปแบบการ ให้บริการ (R&D) การบูรณาการผลผลิตและบริการงาน HP.และ Env.H.ตามกลุ่มอายุและ Setting Transfer /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและ บริการให้ ผู้รับมอบ (Intermediate Customer) การตลาด ติด ตามสนับสนุนและสร้างความ สัมพันธ์กับผู้รับมอบหลังการให้บริการ (M&E) ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ Level 2 3. ผลิตและพัฒนา Product Innovation (Knowledge/ชุดความรู้) ในแต่ละเนื้อหา (Issue) 8. การถ่ายทอดองค์ความรู้/เทคโนโลยี/นวัตกรรม 11. การตลาดและการสร้างความสัมพันธ์ (CRM) 1. การหาความต้องการในสินค้าและบริการของ C/SH (partner) 5. การบูรณาการเป็นชุดผลผลิตและบริการตามกลุ่มอายุและ Setting (ร่วมกับpartner) 12. การติดตาม&สนับสนุนการบริการ 9. การสื่อสารสาธารณะ (สร้างกระแสสังคม) 2. การสืบค้นข้อมูลเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพ พฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม 4.ผลิตและพัฒนา Process Innovation (Service Model /Technology) ในแต่ละเนื้อหา (Issue) 6. การ พัฒนานโยบายสาธารณะ 7. การ พัฒนากฎหมาย 13. การประเมิน ผลเพื่อพัฒนาปรับปรุง 10. การรับรองมาตรฐาน HP.และ Env.H. กพร. กรมอนามัย

Value Creation Process การวิเคราะห์ Value Chain (Level 2) ของกรมอนามัยตามพันธกิจ (ฉบับปรับปรุง) Level 1 Value Creation Process การเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวังของ C/SHและผู้กำหนดนโยบาย การพัฒนาองค์ ความรู้/ เทคโนโลยี/ นวัตกรรม และ รูปแบบการ ให้บริการ (R&D) Transfer /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและ บริการให้ ผู้รับมอบ (Intermediate Customer) การตลาด ติด ตามสนับสนุนและสร้างความ สัมพันธ์กับผู้รับมอบหลังการให้บริการ (M&E) ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ Level 2 1. การหาความต้องการสินค้าและบริการของ C/SH(partner)และผู้กำหนดนโยบาย 3. ผลิตและพัฒนา Product &Process Innovation (Knowledge/ชุดความรู้ /มาตรฐาน /Service Model /Technology) นโยบายสาธารณะ และกฎหมาย 5. การตลาด(การสร้างความสัมพันธ์ CRM) 6. สนับสนุนการบริการ & การรับรองมาตรฐาน HP.และ Env.H. 4. การถ่ายทอด/สื่อสารสาธารณะ (องค์ความรู้/เทคโนโลยี/นวัตกรรม /นโยบาย/กฎหมาย) 2. การเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพ/ พฤติกรรมและอนามัยสิ่งแวดล้อม 7. การติดตาม & การประเมิน ผลเพื่อพัฒนาปรับปรุง(M&E) กพร. กรมอนามัย

กรมอนามัย “เป็น องค์กรหลักของประเทศ ในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” เป็นศูนย์องค์ความรู้ /Technology นวัตกรรม สร้าง/ผลักดันนโยบายและกฎหมาย พัฒนาความเข้มแข็งของระบบงาน ศูนย์การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน เป็นผู้แทนประเทศ/ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ สินค้า/ผลิตภัณฑ์ การเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวังของ C/SHและผู้กำหนดนโยบาย การพัฒนาองค์ ความรู้/ เทคโนโลยี/ นวัตกรรม และ รูปแบบการ ให้บริการ (R&D) Transfer /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและ บริการให้ ผู้รับมอบ (Intermediate Customer) การตลาด ติด ตามสนับสนุนและสร้างความ สัมพันธ์กับผู้รับมอบหลังการให้บริการ (M&E) องค์ความรู้ (ชุดความรู้ /Information/มาตรฐาน) Innovation (Service Model/ Technology) นโยบายสาธารณะ กฎหมาย รูปแบบระบบงาน Partnerร่วมผลิต ส่งมอบสินค้า ผู้มีส่วนได้เสีย ภาคี เครือข่าย ผู้รับบริการ/SETTING องค์กรอิสระ ประชาชนตามกลุ่ม สสจ./รพศ./รพท./รพช. สอ. ภาคเอกชน (อสม./ชมรม /ชุมชน) แม่/เด็ก วัย รุ่น วัยทำงาน ผู้สูง อายุ settingต่างๆ ภายใน/นอก กท.สธ. อปท หน่วยอื่น กพร. กรมอนามัย

สรุปกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน ในระดับ 2 1. การหาความต้องการสินค้าและบริการของ C/SH(partner)และผู้กำหนดนโยบาย 3. ผลิตและพัฒนา Product &Process Innovation (Knowledge/ชุดความรู้ /มาตรฐาน /Service Model /Technology) นโยบายสาธารณะ และกฎหมาย 5. การตลาด(การสร้างความสัมพันธ์ CRM) 6. สนับสนุนการบริการ & การรับรองมาตรฐาน HP.และ Env.H. 4. การถ่ายทอด/สื่อสารสาธารณะ (องค์ความรู้/เทคโนโลยี/นวัตกรรม /นโยบาย/กฎหมาย) 2. การเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพ/ พฤติกรรมและอนามัยสิ่งแวดล้อม 7. การติดตาม & การประเมิน ผลเพื่อพัฒนาปรับปรุง(M&E) 8. กระบวนการกำกับองค์กรที่ดี 9. กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และการถ่ายทอดเป้าหมายสู่การปฏิบัติ 10. กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคลากร 11. กระบวนการจัดการความรู้ 12. กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี 13. กระบวนการสื่อสารภายในองค์กร กระบวน งานสนับสนุน 14. กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง กพร. กรมอนามัย

กรอบการกำหนดกระบวนการทำงานของกรมอนามัย Level 0 กรอบโครงสร้างระบบงาน Level 1 โครงสร้าง Value Creation & Supporting Process หน่วยงานวิชาการ หน่วยบริหาร Level 2 Level 3 SOP กบง.หลัก/สนับ สนุน Level 4 กพร. กรมอนามัย Work instruction Level 5

Process (Level 3) ของกระบวนการสนับสนุน กพร. กรมอนามัย

สวัสดี กพร. กรมอนามัย