ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
แนวทางการบริหารงบประมาณ
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์การเมืองของไทย
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จังหวัดสมุทรปราการ.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ

สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ คณะมนตรีเศรษกิจและสังคม คณะกรรมธิการสิทธิมนุษยชน สนธิสัญญา กลไกตามอนุสัญญา

กลไกสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ กลไกตามกฎบัตรสหประชาชาติ (ก่อตั้งโดยสมัชชาใหญ่) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน คณะอนุกรรมการด้านการส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชน กลไกพิเศษต่าง ๆ เช่น ผู้รายงานพิเศษ และคณะทำงานในประเด็นต่าง ๆ กลไกตามสนธิสัญญา (ก่อตั้งโดยสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชน) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม คณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ คณะกรรมการสิทธิเด็ก คณะกรรมการสิทธิสตรี ฯลฯ

คณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติ (คณะกรรมการฯ) ข้อบทที่ 8 จะมีการจัดตั้งคณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน …. ก่อตั้งโดยข้อบทที่ 8 ของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติฯ ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ 8 คน เลือกโดยรัฐภาคี โดยพิจารณาจากความเชี่ยวชาญ และที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศภาคี มีวาระ 4 ปี ต่อวาระได้

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ข้อบทที่ 9 รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานให้เลขาธิการสหประชาชาติเพื่อเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการฯ เกี่ยวกับมาตรการต่าง ๆ ทางด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม กระบวนการบริหารและอื่น ๆ ซึ่งรัฐภาคีได้จัดให้มีขึ้น เพื่อบังคับใช้ข้อบทของอนุสัญญานี้ คณะกรรมการจะรายงานเป็นประจำทุกปี ผ่านเลขาธิการสหประชาชาติ ให้สมัชชาสหประชาชาติรับทราบถึงกิจกรรมของคณะกรรมการ และอาจจัดทำข้อเสนอแนะและข้อแนะนำทั่วไป โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของรายงานและข้อมูลที่ได้รับจากรัฐภาคี ข้อเสนอแนะและข้อแนะนำทั่วไปเหล่านั้นจะได้รับการรายงานต่อที่ประชุมสมัชชา..

หน้าที่ของรัฐ และ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ประเทศไทยมีหน้าที่จะต้องเคารพ ปกป้อง และเติมเต็ม สิทธิของบุคคล โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ รัฐจะต้องละเว้นจากการละเมิดสิทธิ และต้องไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคล เพราะเหตุความแตกต่างทางเชื้อชาติ รัฐมีหน้าที่ต้องป้องกันไม่ให้บุคคลอื่น ปัจเจกบุคคล องค์กรเอกชน หรือเจ้าหน้าที่และหน่วยงานรัฐ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติต่อบุคคล รัฐต้องทบทวน แก้ไข เพิกถอน กฎหมาย นโยบายต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดหรือเป็นการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ และมีมาตรการและกฎหมายเพื่อห้ามและขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ รัฐต้องมีมาตรการในการส่งเสริมและประกันให้บุคคลเข้าถึงสิทธิโดยไม่เลือกปฏิบัติ

คณะกรรมการประจำอนุสัญญาฯ รัฐไทย เคารพ ปกป้อง ส่งเสิรม คณะกรรมการประจำอนุสัญญาฯ

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ เฝ้าระวัง ติดตาม การปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ และกระตุ้นการบังคับใช้อนุสัญญาฯ โดยกระบวนการต่าง ๆ ต่อไปนี้ พิจารณารายงานรัฐ และข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ กระบวนการตรวจสอบการปฏิบัติตามอนุสัญญาของรัฐ กรณีที่รัฐไม่ส่งรายงาน จัดทำข้อสังเกตุ และข้อเสนอแนะ จัดทำข้อเสนอแนะทั่วไป (เพื่อช่วยการตีความอณุสัญญา) รับพิจารณาข้อร้องเรียนรายบุคคลหรือกลุ่ม รายงานข้อเสนอแนะและข้อแนะนำทั่วไปนต่อที่ประชุมสมัชชา มาตรการแจ้งเตือน และกระบวนการเร่งด่วนต่าง ๆ (urgent procedure) กระบวนการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ (follow up procedure)

การพิจารณารายงานรัฐ และข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ วาระพิจารณาประจำปี ปีละ 2 ครั้ง ที่สำนักเลขาธิการคณะกรรมการฯ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ครั้งละ 3 สัปดาห์ ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม และ ในเดือนสิงหาคม เผยแพร่ตารางการพิจารณารายงานหนึ่งวาะะล่วงหน้า แต่งตั้งกรรมการ 1 ท่านเพื่อทำหน้าที่ศึกษารายงานและสรุปสาระสำคัญจากรายการประเทศนั้นนั้น เรียกว่า Country Rapporteur หรือ ผู้รายงานพิเศษประจำประเทศ จัดทำประเด็นคำถามต่อรัฐบาล (LIST OF ISSUE) โดยอาศัยจากข้อมูลในรายงานรัฐและข้อมูลจากภาคส่วนอื่น ๆ เช่น รายงานเงา ส่งประเด็นคำถามไปยังรัฐบาลล่วงหน้าก่อนจะถึงวาระการประชุม เพื่อให้รัฐบาลเตรียมคำตอบมาอธิบายในที่ประชุมเมื่อถึงวาระ

กระบวนการพิจารณารายงานรัฐ การเจราหารือกับผู้แทนรัฐภาคี ระยะเวลาการประชุม ครึ่งวันบ่าย และครึ่งวันเช้ารุ่งขึ้น รวมเวลา 6 ชั่วโมง ครึ่งวันบ่ายวันแรก ผู้แทนรัฐนำเสนอรายงาน และคำอธิบายต่อประเด็นคำถาม(list of issue) การนำเสนอข้อมูลเบื้องต้น โดยคณะกรรมการผู้รายงานประจำประเทศ หรือ Country Reppeoteur คำถาม และข้อสังเกตจากคณะกรรมการท่านอื่น ๆ 2) ครึ่งวันเช้าวันที่สอง ผู้แทนประเทศตอบคำถาม ผู้แทนประเทศหารือกับคณะกรรมการต่อ สรุปข้อสังเกตของผู้รายงานประจำประเทศ Public Meeting ประชุมโดยให้สาธารณะชนเข้าร่วมได้

การพิจารณารายงานรัฐ และข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ ประเด็นคำถาม คณะกรรมการสิทธิฯแห่งชาติ รายงานรัฐ รายงานเงา ข้อมูลที่ได้รับจากองค์กรระหว่างประเทศอื่น ๆ ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศนั้น ๆ รวบรวมโดยสำนักเลขาฯ รัฐบาล

การติดตามผล คณะกรรมการทำรายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะส่งไปยังรัฐภาคี และภาคประชาสังคม แปลเป็นภาษาประจำรัฐภาคี และ/หรือ ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ ตีพิมพ์เผยแพร่รายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะ ติดตามการปฏิบัติตามรายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะ โดยกระบวนการต่าง ๆ ภายในประเทศ โดยภาคประชาสังคม และโดยผคณะกรรมการฯ กรรมการฯ สามารถขอข้อมูลความคืบหน้าได้ และรัฐต้องรายงานความคืบหน้าและมาตรการต่าง ๆ ทีได้ดำเนินการไปแล้ว ภายใน 1 ปี ภาคประชาสังคมสามารถอาศัยรายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะของกรรมการฯ มาเป็นเครืองมือในการรณรงค์ การLobby การหารือกับรัฐบาล เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง และเพื่อสร้างความตระหนักในปัญหา

การมีส่วนของภาคประชาสังคมในกระบวนการการพิจารณารายงาน กรรมการสิทธิฯ สามารถข้อมูลไปยังสำนักเลขาธิการ กรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติได้ตลอดเวลา ทั้งนี้ ควรส่งล่วงหน้าก่อนวาระพิจารณารายงานรัฐบาลประมาณ 2 – 3 เดือน โดยส่งทั้งทางอีเมล์ และส่งเป็นเอกสาร 20 ชุด ภาคประชาสังคม NGOs สามารถเข้าพบคณะกรรมการได้ในช่วงเที่ยงของวันที่พิจารณารายงานรัฐ เพื่อ นำเสนอรายงาน ประเด็น และเป็นการ Lobby อย่างไม่เป็นทางการ และเพื่อเสนอข้อสังเกตต่อ List of issue ที่คณะกรรมการมีไปยังรัฐ NGOs สามารถเข้าไปสังเกตการณ์การประชุมพิจารณารายงานรัฐได้

การมีส่วนของกรรมการสิทธิฯ ในกระบวนการการพิจารณารายงาน กรรมการสิทธิฯสามารถข้อมูลล่วงหน้าไปยังสำนักเลขาธิการ กรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติได้ตลอดเวลา กรรมการสิทธิสามารถเข้าไปสังเกตการณ์การประชุมพิจารณารายงานรัฐได้ Since 2005, are offered the possibility to address CERD during the public meeting

คณะกรรมการทำประเด็นคำถามสำคัญ รัฐส่งรายงาน คณะกรรมการทำประเด็นคำถามสำคัญ List of Issue รัฐส่งคำตอบ/คำอธิบายต่อคำถาม การประชุมพิจารณารายงานและหารือกับผู้แทนรัฐ การทำรายงานการพิจารณา ข้อสังเกตุ และข้อเสนอแนะ การติดตามผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ รายงานเงา รายงานเงา รณรงค์ ผลักดัน หารือกับรัฐ NGOs ตอบ List of Issue NGOs เข้าพบคณะรรมการก่อนการประชุม และร่วมสังเกตการประชุม