การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิเคราะห์ฐานข้อมูลของไทย ฐานข้อมูล Journal Link โดย น. ส. สุกัญญา ประทุม.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
แนวโน้มอุณหภูมิที่ส่งผล ต่อปริมาณการผลิตลิ้นจี่ ในจังหวัดเชียงราย นายทยากร พร มโน รหัส
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
พื้นที่ผิวของพีระมิด
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การบริหารโครงการ Project Management
Multistage Cluster Sampling
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ประเด็นในรายงานของการเก็บข้อมูล
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
World Time อาจารย์สอง Satit UP
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ความดัน (Pressure).
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation) บท 8 Punya Charusiri

การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation) การประเมินปริมาณแร่สำรอง (Reserve Calculation) ภายหลังจากขั้นตอนของการสำรวจข้อมูลต่างจะถูกนำมาประมวลผลเพื่อพิจารณาปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์เพื่อประเมินศักยภาพของเหมืองแร่ว่ามีความคุ้มทุนในการลงทุนหรือไม่ เพียงใด????

ขั้นตอนการประเมินปริมาณแร่สำรองเพื่อทำการประเมินศักยภาพเหมืองแร่ http://www.debeerscanada.com/gifs/explor_stages_chart.jpg ขั้นตอนการประเมินปริมาณแร่สำรองเพื่อทำการประเมินศักยภาพเหมืองแร่

ลำดับชั้นของปริมาณสำรอง (classes of ore reserves) สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ปริมาณแร่ สำรองพิสูจน์แล้ว (proved reserved or measured resources or proved ores) คือ คูหาแร่ (block) ที่ปรากฎให้เห็นทั้ง 4 ด้านคือ ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา และมีการเก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว

ตัวอย่างภาพตัดขวางแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างคูหาแร่ Surface trench sites ตัวอย่างภาพตัดขวางแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างคูหาแร่

ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองพิสูจน์แล้ว Surface treanch sites A = Proved Ore (Measured resources) A ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองพิสูจน์แล้ว

ลำดับชั้นของปริมาณสำรอง (classes of ore reserves) สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ปริมาณแร่ สำรองพิสูจน์แล้ว (proved reserved or measured resources or proved ores) คือ คูหาแร่ (block) ที่ปรากฎให้เห็นทั้ง 4 ด้านคือ ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา และมีการเก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว 2. ปริมาณแร่สำรองบ่งชี้ ( indicated reserved or probable ores or probable resources) คือ คูหาแร่ที่ปรากฎเพียง 1 หรือ สองด้าน และได้เก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว

ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองบ่งชี้ Surface trench sites B B = Probable Ore (Indicated resources) A = Proved Ore (Measured resources) A ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองบ่งชี้

ลำดับชั้นของปริมาณสำรอง (classes of ore reserves) สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ปริมาณแร่ สำรองพิสูจน์แล้ว (proved reserved or measured resources or proved ores) คือ คูหาแร่ (block) ที่ปรากฎให้เห็นทั้ง 4 ด้านคือ ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา และมีการเก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว 2. ปริมาณแร่สำรองบ่งชี้ ( indicated reserved or probable ores or probable resources) คือ คูหาแร่ที่ปรากฎเพียง 1 หรือ สองด้าน และได้เก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว 3. ปริมาณแร่สำรองคาดการณ์ (inferred reserves or possible ores or geologic reserve) คือ คูหารแร่ที่ไม่ได้ปรากฎให้เห็นหรือปรากฎให้เห็นเพียงด้านเดียว แต่นักธรณีวิทยาจะอาศัยประสบการณ์ในการประเมินปริมาณสำรองในลักษณะนี้ได้

ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณแร่สำรองคาดการณ์ Surface treanch sites A B C C = Possible Ore (Inferred resources) A = Proved Ore (Measured resources) B = Probable Ore (Indicated resources) ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณแร่สำรองคาดการณ์

ตัวอย่างการคำนวณหาปริมาณสำรองและความสมบูรณ์เฉลี่ยของแร่ในแต่ละอุโมงค์ สมมติ : ให้อุโมงค์มีความกว้างยาวดังรูป Top View 8 เมตร ORE 8เมตร 5 เมตร 100 เมตร 200 เมตร 7เมตร Perspective View 8 เมตร 5 เมตร 8เมตร 100 เมตร 200 เมตร 7เมตร

ความกว้างอุโมงค์ (เมตร) W ความยาวอุโมงค์ (เมตร) L นำค่ามาบันทึกในตาราง ชนิด ความกว้างอุโมงค์ (เมตร) W ความยาวอุโมงค์ (เมตร) L พื้นที่อุโมงค์ (ตร.ม.) W x L = S % ความสมบูรณ์ของแร่ V ผลลัพธ์ S x V DRIVE 1 8 200 1,600 1,400 500 800 1.8 1.9 1.2 1.3 2,880 2,660 600 1,040 DRIVE 2 7 200 RAISE 1 5 100 RAISE 2 8 100 รวม

ดังนั้นปริมาณสำรองในที่นี้จะเท่ากับประมาณ 12,000 ตัน 1. ความกว้างเฉลี่ยของอุโมงค์ 4300/600 = 7.17 เมตร 2. ความสมบูรณ์เฉลี่ย 7180/4200 = 1.67% 3. ปริมาตรคูหา = Lw = ความยาวด้านกว้างของอุโมงค์ Ld = ความยาวด้านยาวของอุโมงค์ = 7.17x100x200 = 143400 ลบ.เมตร 4. ปริมาณสำรอง (Tonnage) = ปริมาตร/Tf Tf = Tonnage factor คือจำนวนแร่เป็นลบ.เมตร/ตัน (ให้ Tf = 12 ) = 143400/12 ดังนั้นปริมาณสำรองในที่นี้จะเท่ากับประมาณ 12,000 ตัน

ตัวอย่างการคำนวณปริมาณแร่สำรองสำหรับภูมิแร่ขนาดใหญ่รูปร่างไม่แน่นอน สมมติ : ให้อุโมงค์ที่มีปล่อง (shaft) มีอุโมงค์ตามแร่ (drive) ที่ระดับต่างๆ โดยมีระยะระหว่างระดับ(level interval) 25 เมตร เจาะหลุมในแนวระดับแต่ละหลุมห่างกัน 50 เมตร โดยแต่ละระดับเจาะหลุมไม่เท่ากันดังรูป 25 m. 50 m. N S E W b a c d e ที่แนวระดับ a 50 m. E W 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 L ขอบเขตสายแร่

ขั้นตอนการคำนวณหาความสมบูรณ์ของแร่ในแต่ละระดับ แนวระดับที่ a ความยาวหลุม (เมตร) L หมายเลขหลุม % แร่ ผลลัพธ์ Vx L 1 2 3 4 .. 10 0.47 0.73 0.78 0.56 .. 0.81 .. 45 26 72 55 38 .. 36.45 12.22 52.56 42.90 21.28 N= 10

แต่ละหลุมมีพื้นที่รับผิดชอบ = 50 x 50 x L 1. ความยาวเฉลี่ย = = 960/10 = 96 เมตร 2. ความสมบูรณ์เฉลี่ย = = 586/960 = 0.61% แต่ละหลุมมีพื้นที่รับผิดชอบ = 50 x 50 x L 3. ปริมาตรทั้งระดับ(ของระดับที่ a) = 10 x 50 x 50 x 96 = 2,400,000 ลบ.ฟุต 4. ปริมาณสำรองของแร่(ระดับที่ a) = ปริมาตร/Tf ถ้า Tonnage factor =12 = 2,400,000/12 ที่ระดับที่ a มีปริมาณแร่สำรอง = 200,000 ตัน คำนวณหาปริมาณสำรองของแร่ในระดับอื่นๆต่อไป

ตัวอย่างการคำนวณปริมาณแร่สำรองสำหรับภูมิแร่ขนาดใหญ่รูปร่างไม่แน่นอน สมมติ : ให้อุโมงค์ที่มีปล่อง (shaft) มีอุโมงค์ตามแร่ (drive) ที่ระดับต่างๆ โดยมีระยะระหว่างระดับ(level interval) 25 เมตร เจาะหลุมในแนวระดับแต่ละหลุมห่างกัน 50 เมตร โดยแต่ละระดับเจาะหลุมไม่เท่ากันดังรูป N S E W b a c d e ที่แนวระดับ a 50 m. E W 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 L 50 m. 25 m. ที่แนวระดับ b W E 50 m. 1 5 3 4 2 9 8 7 6 11 10 L ขอบเขตสายแร่

5. คำนวณหาปริมาณสำรองของแร่(ระดับที่ b) ด้วยวิธีการเดียวกันกับแนวระดับ a 6. ทำการคำนวณเช่นเดียวกันจนกระทำครบทุกแนวระดับ 7. นำค่าปริมาณสำรองจากทุกแนวระดับมาทำการหาผลรวม สรุปได้ว่า ปริมาณแร่สำรองทั้งหมด = ผลรวมของปริมาณสำรองของแต่ละระดับ

ตัวอย่างการหาปริมาณสำรองแร่ของเหมืองแร่ทองคำชาตรี จังหวัดพิจิตร ตัวอย่างการหาปริมาณสำรองแร่ของเหมืองแร่ทองคำชาตรี จังหวัดพิจิตร ซึ่งมีวิธีการประเมินปริมาณแร่สำรองที่ใกล้เคียงกับวิธีการที่ได้นำเสนอมาแต่จะมีความแตกต่างในขั้นรายละเอียดที่ค่อนข้างมากกว่า

ภาพการขุด Trench เพื่อนำตัวอย่างไปทำการวิเคราะห์หาแร่ (เหมืองแร่ชาตรี จ.พิจิตร) แนวความผิดปกติ เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา

ภาพแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างเพื่อมาทำกาวิเคราะห์ (เหมืองแร่ชาตรี จ ภาพแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างเพื่อมาทำกาวิเคราะห์ (เหมืองแร่ชาตรี จ.พิจิตร) เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา

ภาพตัดขวางแสดงการเจาะสำรวจเพื่อประเมิณศักยภาพสายแร่ เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา

ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ แหล่งตะวัน แหล่งจันทรา เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

Resources Tonnes Grade Ounces (million) g/t Au (equiv) Au (equiv) Tawan (CH) 10.2 3.0 990,000 Chantra (D) 4.2 2.3 310,000 Total Resource 14.4 2.8 1,300,000

Ore Reserves Tonnes Grade Ounces (million) g/t Au (equiv) Au (equiv) Tawan 6.5 3.3 690,000 Chantra 1.7 3.4 190,000 Total Reserve 8.2 3.4 880,000

ภาพตัวอย่างขั้นตอนการทำการสำรวจหาปริมาณแร่สำรองก่อนการประเมิณหาศักยภาพของแร่

Surface trenching at an exploration site (Australia) http://www.mining.ubc.ca/cimarchive/Explor/

http://www.kaolin.com/ccpros.html Small exploration rig drill hole to correct to core samples ( Middle Geogia, USA )

Exploration rig in rugged jungle (Papua New Guinea) http://www.mining.ubc.ca/cimarchive/Explor/

Exploration geologist examining a piece of drill core for magnetic susceptability (WMC Resources Ltd Western Australia) http://www.mining.ubc.ca/cimarchive/Pit/Geol/

http://www.geoquest.co.zm/technical_services.htm Exploration geologist prepares sieved stream samples for dispatch

http://www.mining.ubc.ca/cimarchive/Concentr/Lab/ Assayer operating a atomic absorption machine (British Columbia, Canada)

Sierra Mojada Mining the west of Coahuila, Mexico http://www.metalin.com/exploration.html *Red Zinc - 76.4 million tonnes 8.22% zinc (4,696 assays with a total length of 6,704 meters) *White Zinc - 7.3 million tonnes 20.52% zinc (667 assays with a total length of 1,080 meters) *Polymetallic - 4.0 million tonnes 0.6% copper (1661 assays with a total length of 3,239 meters) *311 g/t silver *5.5% zinc *2.2% lead Sierra Mojada Mining the west of Coahuila, Mexico

เอกสารอ้างอิง - ปัญญา จารุศิริ, 2546, คู่มือการสำรวจแร่ เล่มที่ 2, 740 หน้า - http://www.debeerscanada.com/gifs/explor_stages_chart.jpg - http://www.kaolin.com/ccpros.html - http://www.geoquest.co.zm/technical_services.htm - http://www.metalin.com/exploration.html - http://www.mining.ubc.ca/cimarchive/Concentr/Lab/ - http://www.mining.ubc.ca/cimarchive/Explor/ - http://www.mining.ubc.ca/cimarchive/Pit/Geol/ - ภาพประกอบคำบรรยายจากคุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา เหมืองแร่ชาตรี จังหวัดพิจิตร

THANK YOU for ATTENTION