การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข มาตรการดำเนินงาน Quick Win มาตรการจัดการข้อมูล (การบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน) มาตรการด่านชุมชน มาตรการองค์กร การขับเคลื่อนผ่านระบบสุขภาพอำเภอ (DHS/DC) การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข เทศกาลปีใหม่ 2559 นายแพทย์ชัยรัตน์ เตชะไตรศักดิ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค
โครงสร้าง/ บทบาท : core Function กระทรวงสาธารณสุข ข้อ 5 : ป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ โดยเฉพาะ RTI ภาพรวม ข้อเสนอเพื่อสามารถดำเนินงานได้ “ตลอดปี” เป็นวาระของกระทรวงฯ นโยบายเร่งด่วน พ.ศ. 2559 1 โครงสร้าง/ บริหารจัดการ บทบาท : core Function การสนับสนุน - กำกับ ติดตาม ผลลัพธ์ 2 3 ส่วน กลาง EOC RTI ในระบบ ICS / สธฉ. บูรณาการ prevention กับ Service plan พัฒนากลไกข้อมูล ตาย 3 ฐาน บาดเจ็บ IS / 43 แฟ้ม สอบสวน case พัฒนา model DHS/ศปถ.อำเภอ ด่านชุมชน มาตรการองค์กร 3-6 เดือน มีข้อมูลตาย 3 ฐาน เขตสุขภาพ สสจ./รพ. EOC RTI สคร./สสจ. สสจ. มีผู้รับผิดชอบงาน อุบัติเหตุชัดเจน ตั้ง Emergency & Trauma Admin Unitใน รพ.ระดับ A S M1 เขตสุขภาพ (แผน + สนับสนุน งปม. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 2. จัดอบรม Emergency &Trauma Admin Unit) 3. บริหารจัดการข้อมูล+นำเสนอ ศปถ.จว.ทุกเดือน) บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน case ตามเกณฑ์ ชี้เป้า“ 5 จุดเสี่ยง” ที่ต้องแก้ไข 3-6 เดือน มีการแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุด/จว /ไตรมาส (380 จุด) การทำงานในปัจจุบัน การทำงานยังขาดการบูรณาการ ยังแยกส่วนการป้องกัน และการรักษา ข้อมูลผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล อยู่ในระบบ ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ในด้านการป้องกัน เนื่องจากไม่มีผู้รับผิดชอบในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ นำเสนอ เพื่อชี้เป้า ทั้งในส่วนของโรงพยาบาล และ สสจ. (ไม่มีผู้รับผิดชอบหลักงานอุบัติเหตุเป็นเพียงงานฝาก ทำเฉพาะช่วงเทศกาล) ผู้บริหาร/ผู้ปฎิบัติงานในพื้นที่บ่งส่วน ยังมีความคิดว่างานอุบัติเหตุไม่ใช่ภารกิจของสาธารณสุข มีเพียงงานรักษาเท่านั้น จึงให้ความสำคัญกับงานป้องกันน้อย รอเป็นฝ่ายรับ ไม่รุกออกไปทำงานป้องกัน พบว่าในบางพื้นที่ ที่ฝ่ายสาธารณสุขลุกขึ้นมาขับเคลื่อนงานโดยการนำข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากระบบรายงานในโรงพยาบาล และจากการสอบสวน ไปนำเสนอในเวทีหลายระดับ ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ทำให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ นายก อบต./เทศบาล ให้ความสนใจ ให้ความสำคัญกับปัญหา แล้วหาแนวทางแก้ไข เกิดมาตรการชุมชน การแก้ไขจุดเสี่ยง มาตรการด่านชุมชน เช่น ภูเก็ต น่าน นครราชสีมา สิงห์บุรี ฯลฯ จึงมีข้อเสนอดังนี้ - ส่วนกลาง ให้เปิด OC ของงานอุบัติเหตุทางถนนในระบบ ICS โดยมีสำนักสาธารณสุขฉุกเฉินรับผิดชอบ ในช่วงวิกฤตให้เปิด EOC ทำหน้าที่พัฒนากลไกข้อมูล (เชื่อมข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน case) พัฒนาModel (DHS/DC ด่านชุมชน มาตรการองค์กร) - เขตสุภาพ/สสจ./รพ. ให้เปิด OC ของจังหวัดเชื่อมงานกับ รพ.และศปถ.จังหวัด และ เปิด EOC กรณีเกิดวิกฤต // ตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit ใน รพ.ระดับ A S M1 เขตทำหน้าที่ สนับสนุนงบประมาณ จัดทำแผน นิเทศ ติดตาม กำกับ ประเมินผล// จัดอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ใน Emergency & Trauma Admin unit จังหวัดทำหน้าที่ บริหารจัดการข้อมูล นำเสนอ ให้กับศปถ.จังหวัด ทุกเดือน (เชื่อมข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน แase สำคัญ) // วิเคราะห์ นำเสนอ 5 จุดเสี่ยง ที่ต้องแก้ไข //ทำมาตรการองค์กร - อำเภอ ให้ สสอ.เป็นฝ่ายเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ ทำหน้าที่บริหารจัดการข้อมูล นำเสนอ ศปถ.อำเภอ ทุกเดือน ชี้จุดเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง// สอบสวน case สำคัญ ผลลัพธ์ 3-6 เดือน ส่วนกลาง : ข้อมูลตาย 3 ฐาน ทุกจังหวัด //เกิด Model ต้นแบบในพื้นที่เสี่ยง //เกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย เขต/รพ./สสจ. : เสนอข้อมูลตาย สอบสวน และจุดเสี่ยงให้กับ ศปถ.จังหวัด ทุกเดือน // มีการนำข้อมูลไปแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุด/จังหวัด/ไตรมาส อำเภอ : การบาดเจ็บและเสียชีวิตที่จุดเสี่ยงลดลง // เกิดแผนปฏิบัติการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่ดำเนินงานตลอดปี อำเภอ DHS /DC สสอ.เป็นเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ จัดการข้อมูล สอบสวน case ชี้จุดเสี่ยง และ พฤติกรรมเสี่ยง เสนอ ศปถ.อำเภอทุกเดือน ติดตาม ผลการดำเนินงาน “แก้จุดเสี่ยง”+ อื่นๆ ดำเนินการ (มาตรการองค์กร มาตรการ ชุมชน ด่านชุมชนช่วงเทศกาล) 3-6 เดือน 1. “ช่วงเทศกาล” เจ็บ ตายลดลงในพื้นที่ตั้ง ด่านชุมชน (7,255 จุด) 2. แก้ไขจุดเสี่ยง 1 จุด/ อำเภอ/ไตรมาส (878 จุด)
สรุปภาพรวมการดำเนินงาน บูรณาการข้อมูลการตาย 3 ฐาน (สาธารณสุข ตำรวจ และบริษัทกลาง) สอบสวนสาเหตุการตายจากการเกิดอุบัติเหตุทางถนน นำเสนอข้อมูลต่อศูนย์ถนนในแต่ละระดับ เพื่อใช้ในการป้องกันอุบัติเหตุ ระบบข้อมูล แก้ไขจุดเสี่ยง : Quick Win 5 จุดเสี่ยง/ไตรมาส/จังหวัด มาตรการชุมชน และ Quick Win ด่านชุมชน มาตรการองค์กร : หมวก เมา เร็ว เข็มขัดนิรภัย การป้องกัน ระบบ EMS ER quality, Emergency & Trauma Unit, การรักษา พยาบาล สธฉ. เปิด EOC ติดตาม และ สสจ.+รพ. เปิด OC ในจังหวัด จัดตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit ใน รพ. A S M1 มีผู้ประสานงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนทุก สสจ. M&E หา Best Practice การบริหารจัดการ
กรอบการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนระดับพื้นที่ ผู้บริหาร ร่วมผลักดันนโยบายการทำงานระหว่างกระทรวง ให้มีความสอดรับกันตามแนวทาง DHS ส่วนกลาง DHS/DC มาตรการจัดการข้อมูล สคร. พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ ข้อมูลเฝ้าระวังฯ ข้อมูลเชิงลึก สอบสวนการบาดเจ็บ การบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน พัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา Quick Win : จัดการ จุดเสี่ยง 5 จุด/จว/ไตรมาส (ช่วงปกติ) Quick Win : มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฎหมาย มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร
การจัดการสุดเสี่ยง (Black Spot) การสำรวจและค้นหา จุดเสี่ยง จุดอันตราย โดยใช้ข้อมูล เพื่อนำเสนอทางเลือกในการแก้ไขจุดเสี่ยงในชุมชน
การสอบสวนอุบัติเหตุทางถนน Criteria การสอบสวน สำนักระบาดวิทยา 1.เสียชีวิต ตั้งแต่ 5 ราย ขึ้นไป หรือ บาดเจ็บตั้งแต่ 15 คน 2.เหตุการณ์ที่น่าสนใจ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน 1.เสียชีวิตตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป 2.บาดเจ็บตั้งแต่ 4 คน ขึ้นไป 3.บาดเจ็บ + เสียชีวิต ตั้งแต่ 4 คนขึ้นไป เป้าหมายการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพบุคคลากรและเครือข่าย จำนวน อำเภอ ปีงบประมาณ 2558 แผนปีงบประมาณ 2559 รวม (%) ภาพรวม ทั้งประเทศ 878 366 (41.67%) 166 (18.91%) 532 (60.59%)
มาตรการองค์กรด้านความปลอดภัยทางถนน ของกระทรวงสาธารณสุข นโยบายองค์กร :-ตั้งกรรมการดำเนินงาน + มีการให้รางวัลหรือลงโทษ -การสอบสวนกรณีเกิดอุบัติเหตุกับเจ้าหน้าที่ทุกราย -การป้องกันอุบัติเหตุจากความเหนื่อยล้าของเจ้าหน้าที่ -กรณีเช่าเหมารถต้องมีการประเมินตามแนวทางฯ สถานที่ราชการ : กำหนดเป็นเขตสวมหมวกนิรภัยและรัดเข็มขัดนิรภัย 100 % รถราชการ : -ติดตั้งเข็มขัดนิรภัยทุกที่นั่ง พิจารณาทำประกันภัย -จำกัดความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. ในเส้นทางนอกเมือง รถพยาบาล : -ตรวจประเมินมาตรฐานรถและอุปกรณ์ความปลอดภัย ติด GPS -ทำประกันภัยทุกคัน -อบรมพัฒนาพนักงานขับรถ -จำกัดความเร็วไม่เกิน 80 กม./ชม. ในเส้นทางนอกเมือง เจ้าหน้าที่ : มีส่วนร่วมและปฏิบัติตามมาตรการ 4 ข้อโดยเคร่งครัด มาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนนของกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวง ให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกหน่วยงานปฏิบัติตามกฎกระทรวง โดยในปี 59 นี้ ขอเน้น 4 ประเด็นหลัก เมา เร็ว เข็มขัด หมวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการเกิดอุบัติเหตุกับรถพยาบาลและรถยนต์ราชการ ต้องมีการสอบสวนและรายงานให้กับผู้บริหารทราบทุกราย เน้น 4 ประเด็นหลัก 1. ห้ามเมาแล้วขับขี่ 2. ห้ามใช้ความเร็วเกินกำหนด 3. คาดเข็มขัดนิรภัย 4. สวมหมวกนิรภัย อุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง อุบัติเหตุรถราชการลดลง
ตั้งด่านชุมชน ด่านชุมชน คือ จุดตรวจหรือจุดสกัดบนถนนในชุมชน/อบต. โดยความร่วมมือของคน ในชุมชน องค์กร/กลุ่มต่างๆ ในชุมชน เพื่อสกัดกลุ่มเสี่ยงและลดพฤติกรรมเสี่ยง ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์การบริหารส่วน/เทศบาล อปพร. ชรบ. รพ.สต. อสม. ผู้ที่ได้รับการยอมรับนับถือในชุมชน และกลุ่มอื่นๆ ต. เตรียม เตรียมความพร้อมก่อนเทศกาล เช่น จัดประชาคมร่วมสร้างมาตรการชุมชน อุปกรณ์ ทีมงาน สำรวจ/แก้ไขจุดเสี่ยง สำรวจกลุ่มเสี่ยง/พฤติกรรมเสี่ยง ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ต. ตั้งด่านชุมชน การกำหนดจุดในการตั้งด่านในช่วงเทศกาล เช่น ทางเข้าออกชุมชน แยกถนนที่มีความเสี่ยง หรือจัดเป็นลักษณะด่านเคลื่อนที่ได้ ต.ติดตาม การสรุปผลการดำเนินงานในแต่ละวัน การประเมินกิจกรรม การสรุปบทเรียน
เป้าหมาย (Small Success) มาตรการ ผลสำเร็จ (Small Success) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน บูรณาการฐานข้อมูลการตาย 3 ฐาน ส่วนกลาง (MOU) 1 ชุดฐานข้อมูล บูรณาการฐานข้อมูลการตาย 3 ฐาน ระดับจังหวัด 12 จังหวัด 24 จังหวัด 50 จังหวัด 76 จังหวัด การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุดเสี่ยง/จังหวัด ไม่น้อยกว่า 300 จุด ไม่น้อยกว่า 300 จุด การดำเนินงาน “ตั้งด่านชุมชน”ในช่วงเทศกาล อย่างน้อย อำเภอละ 1 จุด อย่างน้อย อำเภอละ 1 จุด มี EOC RTI ระดับส่วนกลาง ระดับเขต และจังหวัด สำหรับการบัญชาการเหตุการณ์ช่วงเทศกาล เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ จัดตั้ง Trauma Emergency admin unit ใน รพ.ระดับ A/S/M1 (และมีการฝึกอบรมให้กับผู้มีหน้าดูแล) ร้อยละ 25 ร้อยละ 50 ร้อยละ 75 ร้อยละ 100 ระดับอำเภอ เน้นการทำงาน DHS/DC ร่วมกับ ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน อำเภอ (ศปถ.อำเภอ) DHS/DC เพิ่มขึ้น 50% ด้านการจัดการข้อมูล ด้านป้องกัน ด้าน บริหารจัดการ
การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข สำหรับเทศกาลปีใหม่ 2559 (วันที่ 29 ธ.ค. 58 - 4 ม.ค. 59) “สุขกาย สุขใจ ขับขี่ปลอดภัย รับปีใหม่ 2559” ระบบข้อมูล การป้องกัน ตั้งด่านชุมชน การรักษา พยาบาล
จังหวัดเสี่ยงสูง พื้นที่สีแดง และส้ม เทศกาลปีใหม่ 2556 เทศกาลปีใหม่ 2557 เทศกาลปีใหม่ 2558 จังหวัดเสี่ยงสูง พื้นที่สีแดง และส้ม แหล่งข้อมูล : ระบบรายงานอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลของกระทรวงสาธารณสุข
ทำไมต้อง “ด่านชุมชน”
ก่อนเทศกาล ช่วงเทศกาล ส่วน กลาง ผลักดันในระดับนโยบายร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ทบทวนบทเรียน วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา ระบุ “ความเสี่ยงสำคัญ” (กลุ่มเสี่ยง จุด/พื้นที่เสี่ยง ช่วงเวลาที่เสี่ยง) แถลงข่าว สื่อสาร/รณรงค์ ระดมความร่วมมือ และเตรียมความพร้อม กรม คร. สธฉ. สพฉ. ร่วมบูรณาการกับ ศปถ. ดำเนินมาตรการองค์กร สธฉ.เปิด EOC ที่กระทรวง ตรวจเยี่ยม กำกับติดตาม เขต/จังหวัด วิเคราะห์หาจุดเสี่ยง ความเสี่ยงสำคัญในพื้นที่และแก้ไข รณรงค์ สื่อสารความเสี่ยง สคร./สสจ. ตรวจเตือน/ตรวจจับร้านค้าที่กระทำผิด พรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เปิด EOC ติดตาม และรายงานสถานการณ์ทุกวัน สอบสวนอุบัติเหตุ บูรณาการสำรวจ/ตรวจจับร้านค้าที่กระทำผิด พรบ.ฯ อำเภอ (DHS) บริหารจัดการโดยใช้หลัก 5 ส (สารสนเทศ สุดเสี่ยง สหสาขาวิชาชีพ สุดคุ้ม ส่วนร่วม) วิเคราะห์หาความเสี่ยง จุดเสี่ยงสำคัญในพื้นที่เพื่อแก้ไข กรณี พบเด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี บาดเจ็บจากดื่มแล้วขับ ให้ประสานตำรวจติดตามลงโทษร้านขายสุรา/สถานบริการ ตำบล สร้างความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถึงแนวปฏิบัติด่านชุมชน สำรวจ “กลุ่มเสียง” (พฤติกรรม) สำรวจ “จุดเสี่ยง” ประชาคม/กำหนดมาตรการชุมชน รพสต. อสม. ร่วมตั้งด่านชุมชน การป้องกัน
การรักษา พยาบาล นอกโรงพยาบาล ในโรงพยาบาล เตรียมความพร้อมระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของหน่วยบริการทุกระดับ ทั้งภาครัฐและเอกชน - หน่วยบริการทุกระดับ ALS, BLS และ FR - ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ (โทรศัพท์ 1669) - ระบบสารสนเทศ - ขอความร่วมมือจากมูลนิธิ/อาสาสมัคร นอกโรงพยาบาล การรักษา พยาบาล จำนวนชุดปฏิบัติการ EMS 14,442 ชุด เตรียมความพร้อมทั้งทีมแพทย์ พยาบาล และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน ER, OR, ICU และการรับอุบัติเหตุหมู่ ให้มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอยู่ประจำ ER ตลอด 24 ชั่วโมง สำรองเตียงรองรับอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นจากปกติ อีกร้อยละ 10 ในโรงพยาบาล จำนวนนักปฏิบัติการ EMS 163,625 ราย * แพทย์ 1,718 คน * พยาบาล 19,392 คน * paramedic 183 คน * EMT-I 2,440 คน * EMT-B 5,811 คน * FR 129,218 คน * อื่นๆ 4,863 คน
สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค 12 เขต รพ./หน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด/อำเภอ สนับสนุนข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องให้กับ ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด/อำเภอ และ สธฉ. จัดทีมสอบสวนการบาดเจ็บตามเกณฑ์ฯ สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค 12 เขต เปิดศูนย์ EOC ติดตามสถานการณ์ทุกวัน จัดทีมสอบสวนกรณีอุบัติเหตุรายใหญ่ สธฉ. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายวัน เสนอผู้บริหาร เปิด EOC กรมควบคุมโรควิเคราะห์ข้อมูล IS ภายหลังเทศกาล ระบบข้อมูล