แนะนำรายวิชา Engineering Graphics I (การเขียนแบบวิศวกรรม 1)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
ชื่อผู้วิจัย สิตานันท์ ธีรศาสตร์ศิลป์
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
การประชุมทำความเข้าใจ กระบวนวิชา ๒๕๒๔๙๓ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มกราคม ๒๕๕๘.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
Entity-Relationship Model E-R Model
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิชา เขียนแบบไฟฟ้า รหัส ท-ป-น (0-4-2)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
Workshop Introduction
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
บรรยายครั้งที่ 1 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การสอนควบคู่กับการเรียน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำรายวิชา 425101 Engineering Graphics I (การเขียนแบบวิศวกรรม 1) เป็นวิชาที่อยู่ในความรับผิดชอบของ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

รายละเอียดและความสำคัญของรายวิชา รายละเอียดของรายวิชา การเขียนตัวอักษรและตัวเลข การเขียนภาพฉายออร์โธกราฟฟิกส์ การเขียนและสเก็ตภาพสามมิติด้วยมือเปล่า ภาพตัดและสัญนิยม การกำหนดมิติ ศึกษาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเขียนแบบ ความสำคัญของรายวิชา เป็นวิชาที่ช่วยเสริมทักษะการเขียนและอ่านแบบ รวมทั้งสามารถออกแบบทางวิศวกรรมได้

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้น 2 อาคารวิชาการ โทรศัพท์ 4556, 4410 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อ.วีณา ฟั่นเพ็ง สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้น 2 อาคารวิชาการ โทรศัพท์ 4556, 4410

การให้คะแนน งานในห้องและการบ้าน 10 % แบบทดสอบหลังเรียน 10 % งานในห้องและการบ้าน 10 % แบบทดสอบหลังเรียน 10 % สอบกลางภาค 35 % สอบประจำภาค 45 %

คะแนนงานในห้องและการบ้าน 10 % (FreeHand 8 week + SolidWorks 4 week) เก็บคะแนนสัปดาห์ละ 20 คะแนน งานในห้อง 10 คะแนน การบ้าน 10 คะแนน ทั้งหมด 11 สัปดาห์ รวมเป็น 11 x 20 = 220 คะแนน ตัดทอนให้เหลือ 10 คะแนน

คะแนนทดสอบท้ายคาบ 10 % (FreeHand 8 week + SolidWorks 4 week) คะแนนทดสอบท้ายคาบสัปดาห์ละ 10 คะแนน ทั้งหมด 11 สัปดาห์ รวมเป็น 11 x 10 = 110 คะแนน ตัดทอนให้เหลือ 10 คะแนน

รูปแบบการเรียนในห้อง อนุญาตให้ใช้เครื่องมือช่วยในการเขียนแบบได้ เวลาเรียนทั้งหมด 4 ชั่วโมง ผู้สอนจะสอนเนื้อหาและพาทำแบบฝึกหัด 3 ชั่วโมง มีการเช็คชื่อทุกครั้งที่เข้าเรียน หากไม่มีลายมือชื่อจะไม่มีคะแนนงานในสัปดาห์นั้นๆ ทดสอบท้ายคาบเรียน 1 ชั่วโมง

การส่งงาน ทดสอบท้ายคาบเรียน ส่งกับอาจารย์ผู้สอนในชั้นเรียน โดยนักศึกษาจะได้รับคืนในสัปดาห์ถัดไป การบ้านส่งก่อนเริ่มเรียนในสัปดาห์ถัดไป และจะได้รับคืนในสัปดาห์ถัดไป

ข้อตกลงในการเรียน ห้ามเข้าห้องเรียนช้ากว่า 15 นาที แต่งตัวไม่เรียบร้อยจะถูกตัดคะแนน 5 คะแนน นักศึกษาลงลายมือชื่อทุกครั้งที่เข้าเรียน หากไม่มีลายมือชื่อจะไม่มีการตรวจและให้คะแนนงานในสัปดาห์นั้น (กรณีลงชื่อแทนเพื่อน จะไม่มีคะแนนในสัปดาห์นั้นๆ ทั้งคนลงแทนและเจ้าของชื่อ)

นอกเหนือจากนี้จะไม่ได้รับการชดเชยหรือคะแนนในสัปดาห์นั้นๆ เงื่อนไขการลาระหว่างเรียน มีหนังสือรับรองจากมหาวิทยาลัย ญาติหรือบุพการีเสียชีวิต ป่วยมีใบรับรองแพทย์ประกอบ นอกเหนือจากนี้จะไม่ได้รับการชดเชยหรือคะแนนในสัปดาห์นั้นๆ

การขาดเรียน นักศึกษาจะไม่มีคะแนนงานในห้อง คะแนนการบ้าน และคะแนนทดสอบท้ายคาบเรียน คะแนนหายไป 30 คะแนน ขาดเรียนเกิน 80 % นักศึกษาจะไม่มีสิทธิ์สอบ

เกณฑ์การตัดเกรด ตัดเกรดอิงคะแนนกลุ่ม จะผ่านรายวิชานี้ได้ ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 50 คะแนน เนื่องจากเป็นวิชา กว. ของบางสาขาวิชา ถ้าต้องการวิชานี้เป็นวิชา กว. ควรได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 70 คะแนน

แผนการสอน 2/2551

Part I : Freehand Sketching บทที่ 1 การเขียนแบบวิศวกรรม

เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 1 1. Introduction To Graphics Technology 2. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขแนวตั้ง (Vertical Lettering) 3. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขแนวเอียง (Incline Lettering) 4. การแบ่งระยะตัวอักษร (Spacing Letters) 5. ตารางช่องรายละเอียด (Title Block) 6. เส้น (Lines) 7. Free hand sketching basic

มาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ 1. ANSI (American National Standards Institute) เป็นมาตรฐานที่กำหนดขึ้นโดย องค์กรอาสาสมัครที่ไม่มีผลกำไรจากการดำเนินงาน ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มนักธุรกิจและกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1918 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นิวยอร์ก ANSI จะทำหน้าที่พัฒนามาตรฐานต่าง ๆ ของอเมริกาให้เหมาะสมจากนั้นจะรับรองขึ้นไปเป็นมาตรฐานสากล  

มาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ   2. ISO (International Organization for Standardization) เป็นมาตรฐานที่กำหนดขึ้นโดย องค์กรใหญ่ที่รวบรวมองค์กรมาตรฐานจากประเทศต่าง ๆ 130 ประเทศ ISO เป็นภาษากรีกหมายถึงความเท่าเทียมกัน หรือความเป็นมาตรฐาน (Standardization) ISO เป็นองค์กรที่มีจุดมุ่งหมายในการส่งเสริมให้มีมาตรฐานสากล ซึ่งไม่เพียงแต่ในเรื่องที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและการสื่อสาร แต่ยังรวมไปถึงการค้า การพาณิชย์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้วย

มาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ   3. มอก. (มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม) เป็นมาตรฐานของประเทศไทย โดยเป็นสิ่งหรือเกณฑ์ทางเทคนิคที่กำหนดขึ้น สำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เกณฑ์ทางเทคนิคนี้จะระบุคุณลักษณะที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภาพของการนำไปใช้งาน คุณภาพของวัตถุดิบที่นำมาผลิต ซึ่งจะรวมถึงวิธีการทดสอบด้วย เพื่อใช้เป็นเครื่องตัดสินว่าคุณภาพผลิตภัณฑ์นั้น ๆ เป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่   ในการเรียนการสอนในชั้นนี้เราใช้มาตรฐาน ANSI เป็นหลัก

1. INTRODUCTION TO GRAPHICS TECHNOLOGY 1.1 เครื่องมือเขียนแบบ (Drawing Instrument) 1. ดินสอ 2. ยางลบ 3. วงเวียน 4. ไม้ที 5. ไม้ฉากสามเหลี่ยม 30 , 60  และ 45  6. ไม้บรรทัด 7. แผ่นกันลบ 8. แปรงทำความสะอาด

เครื่องมือเขียนแบบ สำหรับ Freehand Sketching 1. ดินสอ 2. ยางลบ 3. แผ่นกันลบ 4. ผ้าทำความสะอาด นักศึกษาควรจะมีเครื่องมือครบทั้ง 4 ประเภท

ดินสอ

ดินสอ แผ่นกันลบ

1.2 กระดาษเขียนแบบ (Drawing Paper) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่องกระดาษเขียนแบบ ตาม มอก. 210-2520 แบ่งกระดาษเขียนแบบเป็นมิลลิเมตร มีขนาดมาตรฐานตั้งแต่ A0-A6 กระดาษ วัดเป็นมิลลิเมตร A0 A1 A2 A3 A4 A5 A6 841 x 1189 594 x 841 420 x 594 297 x 420 210 x 297 148 x 210 105 x 148

1.2 กระดาษเขียนแบบ (Drawing Paper)

2. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขแนวตั้ง (Vertical Lettering) 2.1 เส้นร่าง (Guideline)

2.2 ตัวอักษรใหญ่แนวตั้ง (Vertical Capital Letters)

2.3 ตัวเลขแนวตั้ง (Vertical Numerals)

2.4 ตัวอักษรเล็กแนวตั้ง (Vertical Lower-Case Letters)

3. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขแนวเอียง (Incline Lettering) 3.1 ตัวอักษรใหญ่แนวเอียง (Inclined Capital Letters)

3.2 ตัวเลขแนวเอียง (Inclined Numbers)

3.3 ตัวอักษรเล็กแนวเอียง (Inclined Lower-Case Letters)

Basic Strokes Straight Slanted Horizontal Curved Examples : Application of basic stroke 4 5 “I” letter “A” letter “B” letter 1 1 1 2 6 3 3 2

4. การแบ่งระยะตัวอักษร (Spacing Letters) การเว้นระยะตัวอักษร ควรจะเว้นโดยให้ระยะที่เว้นมีพื้นที่ ใกล้เคียงกัน ดังรูป b

5. ตารางช่องรายละเอียด (Title Block) 5.1 ตารางช่องรายละเอียดในสถานศึกษา

5.2 ตารางช่องรายละเอียดในสถานประกอบการ

6. เส้น (Lines)

6. เส้น (Lines)

Horizontal line Vertical line

Nearly vertical inclined line Nearly horizontal inclined line

Basic Line Types Name according to application Types of Lines Appearance Continuous thick line Visible line Continuous thin line Dimension line Extension line Leader line Dash thick line Hidden line Chain thin line Center line NOTE : We will learn other types of line in later chapters.

มาตรฐาน ANSI 6. เส้น (Lines) หนาและเข้ม บางและเบา บางและเบา บางและเบา

6. เส้น (Lines)

6. เส้น (Lines)

6. เส้น (Lines)

7. Free hand sketching basic วงกลม

7. Free hand sketching basic ส่วนโค้ง

7. Free hand sketching basic วงรี

จบสัปดาห์ที่ 1