เปรียบเทียบคุณสมบัติ ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โดย นางสาวราตรี สมความคิด สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
การรายงานข้อมูลในโปรแกรม School MIS กลุ่มงานวัดและประเมินผล สพป. พิษณุโลก เขต 3.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียน โปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง คำสั่ง HTML 5 การแทรก รูปภาพและการเชื่อมโยง รหัส รายวิชา ง การงาน อาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ศูนย์สารสนเทศ กรมป่าไม้. 1) การทำงานของระบบ 2) วิธีการใช้งานเบื้องต้น 3) การใช้งานระบบติดตามการบุกรุกทำลายป่า.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลสมาชิก สหกรณ์การเกษตร ของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ บริษัท บิซโพเทนเชียล จำกัด Project Code: CPD_COOP_57.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
วรกร สุพร งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้งานระดับจังหวัด โดย กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
Android architecture and iOS architecture
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
การบันทึกแบบสอบถามผู้ผ่านการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน พ. ศ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วันที่ 15 – 16 มิถุนายน 2558 ณ สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การอบรมระบบงานฯสำหรับผู้ใช้งาน (ส่วนภูมิภาค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
SMS News Distribute Service
กองแผนงานและวิชาการ & ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เปรียบเทียบคุณสมบัติ ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จินตนา ปรัสพันธ์ แผนกการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา 28 มิถุนายน 2559

1. การจัดการชั้นเรียนออนไลน์

1.1 บัญชีผู้ใช้ ใช้ mail@dpu.ac.th ใช้ mail@mydpu.net ใช้ Apple ID Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ใช้ mail@dpu.ac.th ใช้ mail@mydpu.net ใช้ Apple ID สมัครโดยใช้อีเมลใดก็ได้ จำเป็นต้องกรอกเลขบัตรเครดิต

1.2 การสร้างชั้นเรียนออนไลน์ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U อาจารย์เป็นผู้สร้างชั้นเรียนเอง การเชื่อมกับระบบ SLCM จะต้องพัฒนา Application เพิ่มเอง อาจารย์เป็นผู้สร้างชั้นเรียนเอง หรือ สร้างโดย Admin โดยใช้วิธี upload ไฟล์ .csv ซึ่งจะมีรูปแบบให้ หรือ พัฒนา application เพื่อ sync กับระบบที่มีอยู่ได้ กรณีที่ใช้เป็น Private อาจารย์สร้างชั้นเรียนได้เอง กรณีใช้เป็นแบบ Public ให้ course ปรากฏอยู่ในหน้าของ iTunes U จะต้องสมัครในนามมหาวิทยาลัยและมี admin เป็นผู้กำหนดสิทธิ์ผู้ใช้งาน และ approve การนำ course ขึ้น

1.3 การเข้าร่วมชั้นเรียนของนักศึกษา Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ใช้รหัสเข้าชั้นเรียน 1 รหัสต่อ 1 ชั้นเรียน อาจารย์สามารถ reset รหัสหรือปิดการใช้รหัสเข้าชั้นเรียนได้ สามารถเชิญผู้เรียนเข้าชั้นเรียนผ่านทางอีเมลได้ อาจารย์เป็นผู้นำนักเรียนเข้าชั้นเรียน โดยใช้วิธี search ด้วยชื่อหรือ e-mail ทีละคน หรือ Admin upload ข้อมูลโดยใช้ไฟล์ .csv หรือ พัฒนา application เพื่อ sync รายชื่อนักศึกษาที่เรียนในแต่ละรายวิชากับระบบที่มีอยู่ได้ กรณีที่ใช้เป็น Private ใช้รหัสเข้าชั้นเรียน 1 รหัสต่อ 1 ชั้นเรียน อาจารย์สามารถ reset รหัสได้ หรือ ใช้การแชร์ link ผ่านทางช่องทางการสื่อสารอื่นๆ

1.4 การเชิญผู้สอนร่วม เชิญอาจารย์มาร่วมสอนได้ โดยใช้วิธี Search e-mail Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U เชิญอาจารย์มาร่วมสอนได้ โดยใช้วิธี Search e-mail เชิญอาจารย์มาร่วมสอนได้ โดยใช้วิธี Search e-mail เชิญอาจารย์มาร่วมสอนได้ โดยใช้ Apple ID

1.5 การจัดการเมนูในชั้นเรียนออนไลน์ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ไม่สามารถจัดการเมนูได้ ไม่สามารถจัดการเมนูได้ สามารถเพิ่มเมนูเองได้

1.6 การเก็บชั้นเรียนและการนำกลับมาใช้ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U สามารถเก็บชั้นเรียนที่ไม่ใช้และนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เมื่อเก็บชั้นเรียนแล้วนักศึกษาและอาจารย์สามารถเข้าไปดูได้แต่ไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ สามารถเก็บชั้นเรียนที่ไม่ใช้และนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เมื่อเก็บชั้นเรียนแล้วนักศึกษาจะไม่เห็นชั้นเรียนในหน้าจอของตนเอง แต่อาจารย์จะเข้าไปดูและแก้ไขข้อมูลได้ ชั้นเรียนจะ active ตามช่วงเวลาที่กำหนด เมื่อหมดกำหนดเวลานักศึกษาจะยังคงเข้าชั้นเรียนได้ แต่จะไม่สามารถส่งหรือแก้ไขอะไรได้

1.7 การจัดการชั้นเรียนออนไลน์ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ไม่สามารถ Duplicate ชั้นเรียนได้ ไม่สามารถ Transfer หรือ copy ชั้นเรียนต่อให้อาจารย์ท่านอื่นได้ สามารถลบชั้นเรียนที่ไม่ใช้ได้ ไม่สามารถ Duplicate ชั้นเรียนได้ ไม่สามารถ Transfer หรือ copy ชั้นเรียนต่อให้อาจารย์ท่านอื่นได้ ไม่สามารถลบชั้นเรียนที่ไม่ใช้ได้ สามารถ Duplicate ชั้นเรียนได้ โดยจะยังคงมีข้อมูลอยู่เช่นเดิมทุกประการ ยกเว้นนักศึกษาที่อยู่ในชั้นเรียนจะไม่มี สามารถ copy ชั้นเรียนและส่งให้อาจารย์ท่านอื่นได้ โดยจะยังคงมีข้อมูลอยู่เช่นเดิมทุกประการ ยกเว้นนักศึกษาที่อยู่ในชั้นเรียนจะไม่มี สามารถ Transfer ชั้นเรียนส่งต่อให้อาจารย์ท่านอื่นสอนต่อได้ สามารถลบชั้นเรียนที่ไม่ใช้ได้

1.8 พื้นที่เก็บข้อมูล Google Drive แบบไม่จำกัด Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U Google Drive แบบไม่จำกัด สามารถจัดการโฟลเดอร์เก็บข้อมูลได้เองเช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลใน PC One Drive ได้ 1 TB สามารถขยายได้ในอนาคต สามารถจัดการโฟลเดอร์เก็บข้อมูลได้เองเช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลใน PC My Materials Library ให้ 20 GB แต่สามารถขอขยายแบบไม่จำกัดได้ เมื่อ upload ไฟล์ ระบบจะจัดกลุ่มไฟล์ตาม format ให้อัตโนมัติ

2. การสร้างเอกสารและสื่อประกอบการสอน

ใช้ Office online ในการสร้างเอกสาร เช่น Word Excel PowerPoint Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ใช้ Google Apps ในการสร้างเอกสาร เช่น Google Doc Google Sheet Google Slide ใช้ Office online ในการสร้างเอกสาร เช่น Word Excel PowerPoint ใช้ Pages Numbers Keynote ในการสร้างเอกสาร

สร้างวิดีโอประกอบการสอนโดยใช้ YouTube โดยสร้างได้ 3 รูปแบบ คือ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U สร้างวิดีโอประกอบการสอนโดยใช้ YouTube โดยสร้างได้ 3 รูปแบบ คือ Live stream Upload VDO ที่ถ่ายจากอุปกรณ์อื่นๆ Upload ภาพและเสียงประกอบเพื่อตัดต่อเป็น VDO ใช้ OneNote Class Notebook ในการสร้างเอกสารประกอบการสอน รวมถึงการเชื่อมโยงกับไฟล์อื่นๆ และเว็บไซต์ และยังใช้ในการทำงานที่มอบหมาย การเขียนบันทึก ซึ่งผู้สอนสามารถดูความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียนได้เป็นรายบุคคล ใช้ iBook Author สร้าง e-Book

เลือกใช้ Apps อื่นๆ ใน Google Play Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U เลือกใช้ Apps อื่นๆ ใน Google Play สร้างวิดีโอประกอบการสอนโดยใช้ Office Mix ซึ่งเป็น Plugins ของ PowerPoint สามารถบันทึกหน้าสไลด์ พร้อมเสียงบรรยายและสร้างคำถามแทรกระหว่างการดูวิดีโอได้ ใช้ iMovie ในการถ่ายทำและตัดต่อ VDO

เลือกใช้สื่อออนไลน์จากทั่วโลกที่มีใน iTunes U Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U สร้างสื่อมัลติมีเดียโดยใช้ Sway สามารถนำข้อความ ภาพ วิดีโอ กราฟ มาประกอบได้ เลือกใช้สื่อออนไลน์จากทั่วโลกที่มีใน iTunes U เลือกใช้ Apps อื่นๆ ใน Apps Store

3. การสร้างแบบทดสอบและงานที่มอบหมาย

3.1 เครื่องมือสร้างแบบทดสอบ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ใช้ Google Form สามารถตรวจคำตอบได้ทันที ใส่ภาพและวิดีโอได้ ใช้ Microsoft Form สามารถตรวจคำตอบได้ทันที ไม่มี

กำหนดคะแนนของแต่ละข้อได้ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U กำหนดคะแนนของแต่ละข้อได้ สามารถดูคะแนนในภาพรวมของแบบทดสอบ โดยมีการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และค่าพิสัย และแสดงการตอบของนักศึกษาจำแนกตามรายข้อ ดูคะแนนได้ตามรายข้อ

3.2 การสร้างงานที่มอบหมาย (Assignment) Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U สามารถมอบหมายงานได้ มี 2 รูปแบบ คือ แบบให้สร้างหรือ upload ไฟล์ส่งผ่านระบบ มอบหมายงานผ่านระบบ โดยสามารถกำหนดให้นักศึกษาส่งงานได้ 2 รูปแบบ คือ สร้างหรือ upload ไฟล์ส่งผ่านระบบ มอบหมายงานได้ทั้งแบบมีการกำหนดคะแนนและไม่กำหนดคะแนน

แบบให้พิมพ์คำตอบสั้นๆ หรือแบบเลือกตอบ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U แบบให้พิมพ์คำตอบสั้นๆ หรือแบบเลือกตอบ สร้างงานจาก OneNote Class Notebook

4. การตรวจงานและให้คะแนน

4.1 การตรวจงานและให้คะแนน Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U สามารถกำหนดคะแนนเต็มได้เอง สามารถส่งคะแนนงานที่ตรวจแล้วให้นักศึกษาได้ สามารถ Feedback ให้นักศึกษาได้ สามารถกำหนดคะแนนเต็มได้เอง สามารถส่งคะแนนงานที่ตรวจแล้วให้นักศึกษาได้ สามารถ Feedback ให้นักศึกษาได้ มีกราฟแสดงคะแนนของนักศึกษาในแต่ละชิ้นงาน สามารถกำหนดคะแนนเต็มได้เอง สามารถส่งคะแนนงานที่ตรวจแล้วให้นักศึกษาได้ สามารถ Feedback ให้นักศึกษาได้

4.2 การ Export คะแนน Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U Export คะแนนเป็น Excel ได้ โดยจะ Export ทีละชิ้นงานหรือ Export งานทั้งหมดของรายวิชาก็ได้ Export คะแนนเป็น Excel ได้ โดยจะ Export ทีละชิ้นงาน ไม่สามารถ Export คะแนนทั้งรายวิชาได้ ไม่สามารถ Export คะแนนได้

5. การสื่อสารกับผู้เรียน

5.1 เครื่องมือสื่อสารแบบ Synchronous Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U Hangout สื่อสารได้ทั้งข้อความ ภาพ และเสียง Skype สื่อสารได้ทั้งข้อความ ภาพ และเสียง FaceTime สื่อสารได้ทั้งภาพ และเสียง

5.2 เครื่องมือสื่อสารแบบ Asynchronous Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U สื่อสารแบบกลุ่ม ใช้ post ผ่านเมนูสตรีม ใช้ Group mail สื่อสารแบบกลุ่ม ใช้ post ผ่าน Announcement จากหน้าหลักของรายวิชา หรือใช้เมนู Conversation ใช้ Group mail สื่อสารแบบกลุ่ม ใช้ post ผ่าน Discussions

ใช้ post ผ่าน comment ในการตรวจงาน Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U สื่อสารแบบรายบุคคล ใช้ post ผ่าน comment ในการตรวจงาน ใช้ e-mail สื่อสารแบบรายบุคคล ใช้ post ผ่าน comment ในการตรวจงาน ใช้ e-mail สื่อสารแบบรายบุคคล ใช้ post ผ่าน comment ในการตรวจงาน ใช้ e-mail

6. อุปกรณ์และ Web Browser ที่ใช้งานได้

Web Browser จะไม่ Compatible กับ IE Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ใช้ได้กับทุกอุปกรณ์และทุกระบบปฏิบัติการ โดยมี Apps ให้ Download ทั้ง Android และ iOS Web Browser จะไม่ Compatible กับ IE ใช้ได้กับทุกอุปกรณ์และทุกระบบปฏิบัติการ แต่ยังไม่มี Apps ให้ Download โดยต้องใช้ผ่าน Web Browser Web Browser ใช้ได้ทั้ง IE Chrome Firefox และ Safari อาจารย์สามารถจัดการชั้นเรียนได้จากอุปกรณ์ของ Apple และ PC ซึ่งการใช้งานผ่าน PC ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows จะใช้ได้กับ Chrome เท่านั้น โดยเข้าใช้งานที่ https://itunesu.itunes.apple.com/coursemanager/ สำหรับ Apps ที่ใช้ในการผลิตสื่อ เช่น iBook Author iMove ใช้ได้กับอุปรณ์ Apple เท่านั้น ซึ่งหากไม่ได้ใช้ Apps ดังกล่าวในการผลิตสื่อ สามารถสร้างไฟล์ด้วยโปรแกรมอื่นๆ แล้ว upload เข้า iTunes ได้เช่นเดียวกัน นักศึกษาจะเข้าชั้นเรียนจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ของ Apple เท่านั้น

7. อื่นๆ

มี Apps ให้เลือกใช้ฟรีจำนวนมาก Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U มี Apps ให้เลือกใช้ฟรีจำนวนมาก มีการพัฒนาและปรับปรุงฟีเจอร์ใหม่ๆ ทุกเดือน ในกรณีที่ต้องการใช้ Apps อื่นๆ ของ Google จากหน้า Google Classroom จะต้องเปิดหน้าต่างใหม่ทุกครั้ง ทำให้ไม่สะดวกในการใช้งาน แต่ Microsoft Classroom ปรากฎปุ่มรวม Apps ในทุก Apps ที่ใช้งานทำให้มีความสะดวกมากกว่า การประมวลผลค่อนข้างช้าเมื่อเทียบกับ Google Classroom และ iTunes U บางฟีเจอร์ยังอยู่ระหว่างการพัฒนาทำให้การใช้งานไม่สมบูรณ์ สำหรับผู้ที่ไม่เคยใช่ iOS จะต้องปรับตัวมาก

รายการ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ความจำเป็น 1. การเชื่อมต่อกับระบบที่มีอยู่ในการสร้างชั้นเรียนและการนำนักเรียนเข้าชั้นเรียน  - ไม่จำเป็น 2. การสร้างชั้นเรียนโดยอาจารย์ จำเป็น 3. การเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาด้วยรหัสชั้นเรียน 4. การเชิญผู้สอนร่วม 5. การเพิ่มเมนู 6. การ reuse ชั้นเรียน 7. การ Duplicate/copy/Transfer ชั้นเรียน 8. พื้นที่เก็บข้อมูล 9. เครื่องมือสร้างสื่อ

รายการ Google Classroom Microsoft Classroom iTunes U ความจำเป็น 10. เครื่องมือสร้างแบบทดสอบและการ report คะแนน  - จำเป็น 11. เครื่องมือสร้าง Assignment 12. การตรวจงานและให้คะแนน 13. การ Export คะแนนทีละ Assignment 14. การ Export คะแนทั้งรายวิชา 15. การสื่อสารแบบ Synchronous ไม่จำเป็น 16. การสื่อสารแบบ Asynchronous