ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2560 และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย 23 สิงหาคม 2559.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
วาระที่ 4.2 พิจารณาเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ทิศทางการดำเนินงานของศูนย์อนามัยที่ 6
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การประชุม เจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 6 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย ณ โรงแรมมุกดาราบีชวิลล่าแอนด์สปารีสอร์ท จังหวัดพังงา 23 สิงหาคม 2559

กรอบ การนำเสนอ ประเด็นเน้นหนักปี 2560 บริบทสุขภาพคนไทย ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 บริบทสุขภาพคนไทย ทิศทางกระทรวงสาธารณสุข ทิศทางกรมอนามัย ประเด็นเน้นหนักปี 2560 1

2

โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริบทสุขภาพคนไทย บริบทสุขภาพคนไทย ความเป็น สังคมเมือง สังคมผู้สูงอายุ โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความก้าวหน้า Technology 3

P eople centered approach M astery Retreat MOPH ทิศทางกระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน H umility O riginality P eople centered approach M astery MOPH เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน 4

แผน 20 ปี กสธ. ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) สู่ความยั่งยืน นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข ประเทศไทย 4.0 แผนปฏิรูป ประชารัฐ กรอบแนวคิด ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) สู่ความยั่งยืน Phase3 (2570-2574) ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579) 5

Retreat DOH ทิศทางกรมอนามัย Dream Design Drive Dream Design Drive Re-role Re-structure Re-treat Re-role Re-structure Head Heart Hands Head Heart Hands Lead Lean Learn Lead Lean Learn Retreat DOH 6

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี Health Model เป็นต้นแบบสุขภาพ Ethics มีจริยธรรม Achievement มุ่งผลสัมฤทธิ์ Learning เรียนรู้ ร่วมกัน Trust เคารพและเชื่อมั่น Harmony เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน HEALTH ภาคีเครือข่ายและเจ้าหน้าที่มีความสุข ประชาชนสุขภาพดี ระบบอนามัยยั่งยืน (ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) 7

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues) 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล 8

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน ประเด็นเน้นหนัก ปี 2560 - 2564 เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน ภาคีเครือข่ายและเจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบอนามัยยั่งยืน (สส. และ อวล.) ประชาชนสุขภาพดี P & P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม - อัตราส่วนมารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนคน - ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ - อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน - ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ - ร้อยละของกลุ่มผู้สูงอายุ มีฟันแท้อย่างน้อย 24 ซี่ ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพ* ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน - ร้อยละของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ และดำเนินการจนได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 18) จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ระดับนโยบาย (กระทรวง)และกลไกการขับเคลื่อนนโยบาย (เขตสุขภาพ) - ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสมวัย - ร้อยละของหน่วยบริการจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ - ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาว(Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 19) การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี - ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ - ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital - ร้อยละของวัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ และฟันไม่ผุ 20) คะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตามระบบ ITA โดย ปปท. - ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปีฟันไม่ผุ P I R A B 9 H E A L T H

10

Assessment Advocacy Intervention ระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม คนไทยมีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 72 ปี (HALE) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community) A2 I M. (3ป 1บ) Assessment Advocacy Intervention Management/ Governance (Regulate & Technical Support) (ประเมิน) (เป็นปากเป็นเสียง) (ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ & อวล) (บริหาร/อภิบาล) Investigate Diagnosis Classified - เป้าหมายอนาคตของถนนชีวิต และสุขภาพ 5 กลุ่มวัย - High touch & tech in PA , Nutrition, Oral Health Promote to Excellence ระดับประเทศ/กระทรวง ระดับเขต/จังหวัด/ อำเภอ ระดับท้องถิ่น/ชุมชน Inform, educate, and empower people about Health & Env.H. issues - Mobilize community partnership s and actions to identify and solve Health & Env.H. problem เครือข่าย ระดับนโยบาย Model Development Health &En.H. Provincial Profile Healthy Settings Health& Env.H.City Profile Monitor Normal Policy + Law EHA - Assure Quality of service ( Health Promotion & Env.) - Improve accessibility - Law & Regulation Protection ระบบประเมินรับรอง Health Promotion & Env. Surveillance Data & Information Analysis Prediction Health & Env.H. status & situation By กระทรวงสาธารณสุข RISK สสส. สช. คร. สปสช. สบส. เขตสุขภาพ/ศอ. อสธจ. อปท. Eliminate Reduction - Appropriate Health Behavior, and lifestyle - PA - Target - Nutrition - Target - Env. -> Intervention -  Morbidity & Mortality in all group ตำบลบูรณาการ ILL รพ.สต. อสม./ แกนนำ ชุมชน DOH (EnH Cluster + 5 กลุ่มวัย Cluster) Strategy -Technical Support โดยการ Regulate t เฝ้าระวัง 6 Cluster (5 กลุ่มวัย + อนามัยสิ่งแวดล้อม) 5 มิติ (Risk factor, Protective factor, Promoting intervention, Health outcome, Life impact) 36 ตัวชี้วัด เช่น มารดาตาย, พัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน, คลอดซ้ำในวัยรุ่น, BMI ปกติ, พฤติกรรมที่เหมาะสม, การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ … ect สสจ. DHS สสอ./ รพช. Support/ Regulate Support/ Regulate Improve Maintain ภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น/ชุมชน ภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด - Specific age group Health Promotion Program - Appropriate Health Behavior and lifestyle - PA - Target - Nutrition – Target - Env. -> Intervention Morbidity & Mortality in all group Build Capacity 11

23 ส.ค. 59 ประกาศและสื่อสารแผนยุทธศาสตร์ฯ 23 ส.ค. 59 ประกาศและสื่อสารแผนยุทธศาสตร์ฯ 25 ส.ค.– 14 ก.ย.59 หน่วยงานนำแผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ (ถ่ายทอดตัวชี้วัด/จัดทำ Action Plan/บริหารความเสี่ยง โครงการสำคัญ) 15 ก.ย. 59 อธิบดีกรมอนามัยอนุมัติแผนปฏิบัติการและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ กรมอนามัย 1 ต.ค. 59 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 12