กับความมั่นคงของสหกรณ์ออมทรัพย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การฝึกปฏิบัติการตรวจประเมิน รายงานการประเมินตนเองของสหกรณ์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
มาตรฐานงาน ชุมชน ( มชช.) ประเภท “ ผู้นำ ชุมชน ”. ร. ต. วิฑูร พึ่งพงษ์ ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนตำบลแสง อรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทางการจัดตั้งและพัฒนา สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๘
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กับความมั่นคงของสหกรณ์ออมทรัพย์ บทบาทของสมาชิก กับความมั่นคงของสหกรณ์ออมทรัพย์ โดย ... รองศาสตราจารย์ ดร. สวัสดิ์ แสงบางปลา ประธานกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด นักสหกรณ์แห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ

"สหกรณ์" ความหมายของคำว่า ในพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 “สหกรณ์” หมายความว่า คณะบุคคลซึ่งร่วมกัน ดำเนินกิจการเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วย ตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนตาม พระราชบัญญัตินี้

จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ให้มีความอยู่ดี กินดี มีสุข อุดมการณ์สหกรณ์ อุดมการณ์สหกรณ์ คือ แนวความคิดที่เชื่อว่าหลักการและวิธีการสหกรณ์ จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ให้มีความอยู่ดี กินดี มีสุข โดยการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

การช่วยตนเอง ขยัน ในการประกอบอาชีพของตนเอง เพื่อให้มีรายได้ ใช้จ่ายในครอบครัว อย่างเพียงพอ ถ้าหากไม่พอต้องเพิ่มเวลาการทำงานหรือประกอบอาชีพเสริม ที่ไม่ให้เป็นผลเสียหายต่องานประจำ ความขยันของตนคนเดียวอาจไม่พอ ต้องให้ทุกคนในครอบครัวได้คิด และปฏิบัติเช่นเดียวกัน

ประหยัด ใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็นและเหมาะสมเท่านั้น เพื่อให้รายได้มีเหลือเก็บ ไว้ใช้จ่ายเมื่อถึงคราวจำเป็น ให้ทุกคนในครอบครัวพึงปฏิบัติด้วย พัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี มีอย่างต่อเนื่อง จำเป็นต้องพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้

การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การร่วมแรง รวมตัวกันเพื่อสร้างกิจกรรมร่วมกันเป็นสหกรณ์ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของสมาชิกและสหกรณ์ กาย สหกรณ์เป็นของสมาชิกทุกคน สมาชิกต้องให้ข้อคิด ความเห็น แก่กรรมการ กรรมการต้องรับฟังความคิดเห็นจากสมาชิก เพื่อบริหารกิจการของสหกรณ์ ความคิด สมาชิกต้องร่วมมือกันถือหุ้น ฝากเงินกับสหกรณ์ เพื่อให้มี ทุนดำเนินการเพียงพอ ทุน

การร่วมใจ ซื่อสัตย์ เสียสละ สามัคคี มีวินัย สมาชิกทุกคนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและต่อส่วนรวม กรรมการต้องเสียสละเวลาบริหารงานสหกรณ์ โดยไม่คำนึงถึง ประโยชน์ที่ตนจะได้รับมากนัก เสียสละ สามัคคี บุคคลรวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกัน มีความสามัคคีกัน จะเกิดพลังให้ประสบความสำเร็จในธุรกิจได้ มีวินัย การอยู่ร่วมกันจำนวนมาก จำเป็นต้องมีวินัย ยึดถือปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับที่กำหนดไว้

 ความมั่นคงของสหกรณ์  ให้บริการตามปรัชญาสหกรณ์ นโยบาย  ความมั่นคงของสหกรณ์  ให้บริการตามปรัชญาสหกรณ์  ดำเนินการด้วยจริยธรรมสหกรณ์  พัฒนาสมาชิก  เป็นผู้นำในขบวนการสหกรณ์ นโยบาย   Ø      ความมั่นคงของสหกรณ์ Ø      ให้บริการตามปรัชญาสหกรณ์ Ø      ดำเนินการด้วยจริยธรรมสหกรณ์ Ø      พัฒนาสมาชิก Ø      เป็นผู้นำในขบวนการสหกรณ์

 การช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ความรับผิดชอบร่วมกัน ปรัชญาสหกรณ์  การช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ความรับผิดชอบร่วมกัน  หลักประชาธิปไตย  ความเสมอภาค  ความเป็นธรรม  การรวมกันเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน  พึ่งพาอาศัยกัน

ความรับผิดชอบต่อสังคม การเอาใจใส่ต่อผู้ด้อยโอกาสกว่า จริยธรรมสหกรณ์ ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส ความรับผิดชอบต่อสังคม การเอาใจใส่ต่อผู้ด้อยโอกาสกว่า

หลักการสหกรณ์ การเปิดรับสมาชิกทั่วไป และเป็นสมาชิกด้วยความสมัครใจ การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ การศึกษา การฝึกอบรม และข่าวสาร การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ ความเอื้ออาทรต่อชุมชน

ความวุ่นวาย เป็นธรรมดา สหกรณ์ เป็นการ รวมคน ไม่ใช่การ รวมทุน เป็น องค์การสวัสดิการ (1 คน 1 เสียง) บริษัท เป็นการ รวมทุน เป็น องค์การธุรกิจ (1 หุ้น 1 เสียง) คน รวมตัวกัน มาก ๆ ย่อมเกิด ความวุ่นวาย เป็นธรรมดา ต้องช่วยกันแก้ปัญหา

สมาชิก แบ่งเป็น 3 ฝ่าย คนในสหกรณ์ที่สำคัญที่สุด คือ สมาชิก สมาชิก แบ่งเป็น 3 ฝ่าย 1. หุ้นมาก ต้องการเงินปันผล สูง 2. เงินฝากมาก ต้องการอัตราดอกเบี้ย สูง 3. กู้เงินมาก ต้องการอัตราดอกเบี้ย ต่ำ และเงินเฉลี่ยคืน สูง ต้องให้ความรู้ทำความเข้าใจให้สมาชิก ทั้งสามฝ่ายรู้อย่างถ่องแท้ซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์สุขร่วมกัน

สมาชิก คัดเลือก / ให้ความรู้ก่อนเป็นสมาชิก เข้าเป็น / ออกจากสมาชิกไม่เกิน 2 ครั้ง ส่งหุ้นรายเดือนทุกเดือนตลอดการเป็นสมาชิก จงรักภักดีต่อสหกรณ์ รักษาระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด

ยึดอุดมการณ์และหลักการสหกรณ์ เสียสละ อุทิศเวลาให้สหกรณ์ กรรมการดำเนินการ ยึดอุดมการณ์และหลักการสหกรณ์ เสียสละ อุทิศเวลาให้สหกรณ์ บริหารงานด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ กำหนดนโยบายและบริหารตามแผน มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน

สวัสดิ์ สูตร 1 2 1 2 3 ระดม ทุนเรือนหุ้น > สมาชิกกู้ ระดม ทุนเรือนหุ้น > สมาชิกกู้ 1 ระดม เงินรับฝาก > 3 เท่า ของ ทุนเรือนหุ้น 2 รวม และ ทุนเรือนหุ้น + เงินรับฝาก - สมาชิกกู้ > 2 เท่าของ ทุนเรือนหุ้น 1 2 จัดสรร ทุนสำรอง + ทุนสะสม > 30% ของ กำไรสุทธิ 3

ถ้าสหกรณ์ออมทรัพย์ใด เริ่มต้นเลียนแบบ ผมคิดว่าคงจะเป็นผลดีแน่นอน สูตร 1 ระดมทุนเรือนหุ้นให้มากกว่าสมาชิกกู้ จึงจะมีเงินเหลือ สหกรณ์สามารถยืนบนขาของตนเองโดยไม่พึ่งใคร (ซึ่งกู้เงินผู้อื่นมาให้สมาชิกกู้ต่อ) สูตร 2 ระดมเงินรับฝากให้มากกว่า 3 เท่าของทุนเรือนหุ้น อย่างน้อยที่สุดจะต้องมีเงินรับฝากมากกว่าทุนเรือนหุ้น มากกว่าหลายๆ เท่าจะยิ่งดี เพราะต้นทุนของเงินรับฝากต่ำกว่า จะนำไปลงทุนอะไรก็ได้ผลตอบแทน คุ้มกว่าทั้งนั้น สูตร 3 จัดสรรกำไรสุทธิเป็นทุนสำรองและทุนสะสมตามข้อบังคับ รวมกันต้องมากกว่า 30% ของกำไรสุทธิ โดยปกติ สหกรณ์จะได้รับยกเว้นภาษีกำไร ซึ่งบริษัทห้างร้านต้องเสียภาษีกำไร 30% ดังนั้น สมควรอย่างยิ่งที่คณะกรรมการดำเนินการจะจัดสรรกำไรส่วนนี้เป็นทุนสำรองและทุนสะสมฯ ทุนสะสมฯ ประกอบด้วย ทุนสวัสดิการสมาชิก ทุนสาธารณประโยชน์ ทุนการศึกษา ฯลฯ ทุนเหล่านี้สหกรณ์สามารถกำหนดดระเบียบเพื่อใช้เงินเหล่านี้ได้ ทุนสำรองและทุนสะสมฯ เป็นทุนที่ไม่มีต้นทุน ยิ่งมีมากยิ่งจะทำให้เกิดประโยชน์แก่สหกรณ์มากยิ่งขึ้น สูตรทั้งหลายนี้ สอ.จฬ. เพียรพยายามปฏิบัติกว่าจะเป็นผลสำเร็จ ต้องใช้เวลาประมาณ 8-10 ปี ถ้าสหกรณ์ออมทรัพย์ใด เริ่มต้นเลียนแบบ ผมคิดว่าคงจะเป็นผลดีแน่นอน

สหกรณ์ใดปฎิบัติได้ครบถ้วนตาม "สูตร สวัสดิ์" จะประสบความสำเร็จและสัมฤทธิผล ดังนี้ เป็นสหกรณ์ที่มีฐานะดีและมั่นคง กำหนดอัตราดอกเบี้ยสุทธิที่ให้สมาชิกกู้ได้ต่ำกว่าอัตราเงินปันผล มีสวัสดิการให้สมาชิกได้หลากหลายและเหลือเฟือ สมาชิกเลื่อมใสศรัทธาและคงอยู่กับสหกรณ์ตลอดไป เป็นสหกรณ์แบบอย่างของขบวนการ

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประมาณ 3% สหกรณ์ออมทรัพย์ ออมทรัพย์เป็นเงินฝาก ด้วยอัตราดอกเบี้ย ที่สูงกว่าธนาคาร สูตร ยอดเงินฝาก อย่างน้อยสามเท่า ของทุนเรือนหุ้น 2 ออมทรัพย์เป็นทุนเรือนหุ้น ด้วยอัตราเงินปันผลสูงกว่า อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประมาณ 3% สูตร ยอดทุนเรือนหุ้น ต้องสูงกว่า เงินที่ให้สมาชิกกู้ 1 สมาชิกกู้เงินด้วยอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ เท่ากับ ลูกค้าชั้นดีรายใหญ่ของธนาคาร

จัดสรร ทุนสำรอง และ ทุนสะสม รวมกันสูงกว่า 30% ของกำไรสุทธิ 3 สหกรณ์ออมทรัพย์ (ต่อ) อัตราเงินปันผล ต่ำกว่า อัตราดอกเบี้ยเงินที่ให้สมาชิกกู้ ประมาณ 2% อัตราเงินปันผลที่เหมาะสม ต้องไม่สูงกว่า อัตราดอกเบี้ยเงินกู้สุทธิ ที่ให้สมาชิกกู้ เมื่ออัตราดอกเบี้ยเงินกู้เหมาะสมแล้ว ไม่จำเป็นต้องจ่าย เงินเฉลี่ยคืนอีก สูตร จัดสรร ทุนสำรอง และ ทุนสะสม รวมกันสูงกว่า 30% ของกำไรสุทธิ 3 นำ ทุนสำรอง และ ทุนสะสม ไปลงทุน ได้ผลตอบแทน มากกว่า ค่าใช้จ่ายในการบริหาร จัด สวัสดิการ ให้แก่สมาชิกได้หลากหลายและเหลือเฟือ

สรุปการจัดสรรกำไรสุทธิ ร้อยละของกำไรสุทธิ ขั้นต่ำ ขั้นสูง เสนอแนะ 1. ค่าบำรุง สสท 0.01 1.00 2. โบนัสกรรมการและเจ้าหน้าที่ 2.00 3.00 3. เงินปันผล 84.99 * 60.00** 4. เงินเฉลี่ยคืน 3.00 6.00 5. ทุนสำรอง 10.00 15.00 6. ทุนสะสมฯ - 15.00 100.00 100.00 } 3.00 64.00 } 3.00 } 30.00 100.00 หมายเหตุ * เนื่องจากค่าอื่นเป็นค่าขั้นต่ำ จึงเหลือค่านี้ กลายเป็นค่าขั้นสูง ** เนื่องจากค่าอื่นเป็นค่าขั้นสูง จึงเหลือค่านี้ กลายเป็นค่าขั้นต่ำ ข้อ 3. ต้องแปลงเป็น ร้อยละของทุนเรือนหุ้น ข้อ 4. ต้องแปลงเป็น ร้อยละของดอกเบี้ยเงินกู้

การวางแผนการจัดสรรกำไรสุทธิ จากปัจจุบันสู่ข้อเสนอแนะ 1. ค่าบำรุง สสท ตาม คพช กำหนด 2. โบนัสกรรมการและเจ้าหน้าที่ เพิ่มขึ้น ปีละ 0.1% 3. เงินปันผล ลดลง ปีละ 2% 4. เงินเฉลี่ยคืน ลดลง ปีละ 1% 5. ทุนสำรอง เพิ่มขึ้น ปีละ 1% 6. ทุนสะสม เพิ่มขึ้น ปีละ 2% ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทราบอยู่เสมอ ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดไป

รองศาสตราจารย์ ดร.สวัสดิ์ แสงบางปลา รองศาสตราจารย์ ดร.สวัสดิ์ แสงบางปลา การศึกษา - วศ.บ. (เกียรตินิยม), วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาฯ Ph.D. (Computer), The University of Liverpool ประเทศอังกฤษ ประสบการณ์ ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด 18 ปี ที่ปรึกษา สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด 2 ปี ประธานกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด 6 ปี ที่ปรึกษา ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด 2 ปี - ประธานกรรมการดำเนินการสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย 2 ปี - ประธานกรรมการบริษัท สหประกันชีวิต จำกัด 1 ปี - นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2 ปี - บุคคลดีเด่นด้านไอที สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ - นักสหกรณ์แห่งชาติ สาขาบริหารและส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์ - รางวัลเชิดชูเกียรติยศ (Recognition Award) สมาคมสมาพันธ์สหกรณ์ออมทรัพย์และเครดิตในเอเชีย (ACCU) ปัจจุบัน : - ประธานกรรมการดำเนินการ สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด - ประธานกรรมการดำเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด - สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สป) กรรมการผู้แทนชุมนุมสหกรณ์ฯ ในคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ มือถือ 0-1617-1358 14 มิถุนายน 48