Human Resource for Health ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พบ.,อว., MPHM.
Two Tiers Concept: Dr.Supakit Sirilak Medicine Individual Curative Health Public Health Community Prevention The Best (Best for Few) The Most (Good for All)
Thailand in transition Dr.Supakit Sirilak Aged Society Epidemiological Change to Chronic Non Communication Disease (NCD)
Population Tsunami
Thailand Population Estimation Dr.Supakit Sirilak Thailand Population Estimation
BOD 2014
เบาหวานในคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป 8.9%
ความดันโลหิตสูงคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป 24.7%
แผน 20 ปี กสธ. ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และการปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การบูรณาการ (Integrated) องค์รวมและผสมผสาน (Holistic & Comprehensive) การมีส่วนร่วมของพหุภาคี (Multisectoral) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล กรอบแนวคิด ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) สู่ความยั่งยืน Phase3 (2570-2574) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579)
The 4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ) แผน 20 ปี กสธ. The 4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ) 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยง ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ 4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/เขตเศรษฐกิจพิเศษ P3 Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence 1. การวางแผนความต้องการอัตรากำลัง 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน 3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 4. การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและ ภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ 1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 2. ระบบหลักประกันสุขภาพ 3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และ การคุ้มครองผู้บริโภค 4. ระบบธรรมาภิบาล
Dr.Supakit Sirilak รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ มาตรา ๒๕๗ ......... มาตรา ๒๕๘ ให้ดำเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี ก. ด้านการเมือง .......... ข.- ฉ......... ช. ด้านอื่น ๆ (๑) ......... (๔) ปรับระบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนได้รับสิทธิและประโยชน์จาก การบริหารจัดการ และการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียมกัน (๕) ให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม
ทุกอย่าง ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี 4. ระบบการแพทย์ปฐมภูมิ บริการทุกคน ทุกที่ ทุกอย่าง ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี บริการ ทุกคน ให้บริการทุกกลุ่มวัย ทุกสิทธิ บริการ ทุกที่ ให้บริการทั้งเชิงรับในหน่วยบริการ และการให้บริการเชิงรุกในชุมชน บริการ ทุกอย่าง (PP OP LTC REHAB Palliative Continuity) Comprehensive Care ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู ต่อเนื่อง ระบบส่งต่อ ไป - กลับ บริการ ทุกเวลาด้วย เทคโนโลยี เวลาราชการ เวลาราษฎร ใช้เทคโนโลยี เช่น Line group
ทีมหมอครอบครัว ขั้นต่ำ วิชาชีพ สัดส่วน Team รวม แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว/ แพทย์ที่ผ่านการอบรมฯ 1:10,000 1 3 พยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว 1:2,500 4 12 ทันตแพทย์ 1:30,000 ทันตาภิบาล เภสัชกร เจ้าพนักงานเภสัชกรรม นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข แพทย์แผนไทย กายภาพบำบัด 39
แนวทางการพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ระยะแรก : 1. จัดอบรมระยะสั้น (short course) สำหรับ แพทย์ทั่วไป / แพทย์ใช้ทุน ปี 2 2. รับสมัครแพทย์ทั่วไปที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ให้สามารถสอบอนุมัติบัตรเวช ศาสตร์ครอบครัว 3. พัฒนาและสนับสนุนสถาบันฝึกอบรมและสถาบันสมทบ ในเขตสุขภาพให้ ครอบคลุม ทุกจังหวัด ระยะกลาง : กระตุ้น / สร้างแรงจูงใจ ให้แพทย์ทั่วไป/แพทย์ใช้ทุน ปี 3 สมัครเข้าเรียน หลักสูตรเวชศาสตร์ครอบครัว ในจังหวัดที่ปฏิบัติงาน ระยะยาว : สร้างค่านิยมการมีแพทย์ประจำครอบครัวในสังคม เช่น กำหนดกฎระเบียบการ เปิดคลินิกเฉพาะทาง/คลินิกเอกชน ให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็น องค์ประกอบหรือเป็นที่ปรึกษา
พยาบาลวิชาชีพ 1 : 2,500 # จังหวัด จำนวนที่ต้องการ ปฏิบัติงานจริง พยาบาลวิชาชีพ 1 : 2,500 # จังหวัด จำนวนที่ต้องการ ปฏิบัติงานจริง ส่วนขาด 1 เพชรบูรณ์ 384 208 (54.16%) 176 2 พิษณุโลก 316 194 (61.39%) 122 3 สุโขทัย 220 209 (95%) 11 4 ตาก 168 128 (76.19%) 40 5 อุตรดิตถ์ 160 119 (74.37%) 41 1,248 858 (68.75%) 390
นักวิชาการสาธารณสุข/ จพ.สาธารณสุข 1 : 2500 นักวิชาการสาธารณสุข/ จพ.สาธารณสุข 1 : 2500 # จังหวัด จำนวนที่ต้องการ ปฏิบัติงานจริง (1 สค.59) ส่วนขาด 1 เพชรบูรณ์ 384 436 (113.54%) -52 2 พิษณุโลก 316 345 (109.17%) -29 3 สุโขทัย 220 298 (135.45%) -78 4 ตาก 168 292 (173.80%) -124 5 อุตรดิตถ์ 160 227 (141.87%) -67 1,248 1,598 (128.04%) -350
# จังหวัด จำนวนที่ต้องการ ปฏิบัติงานจริง ส่วนขาด 1 เพชรบูรณ์ 96 ทันตาภิบาล 1 : 10,000 # จังหวัด จำนวนที่ต้องการ ปฏิบัติงานจริง ส่วนขาด 1 เพชรบูรณ์ 96 69 (71.87%) 27 2 พิษณุโลก 79 51 (64.55%) 28 3 สุโขทัย 55 45 (81.81%) 10 4 ตาก 42 29 (69.04%) 13 5 อุตรดิตถ์ 40 34 (85%) 6 312 228 (73.07%) 84
# จังหวัด จำนวนที่ต้องการ ปฏิบัติงานจริง ส่วนขาด 1 เพชรบูรณ์ 96 นักการแพทย์แผนไทย /จพ.แผนไทย 1 : 10,000 # จังหวัด จำนวนที่ต้องการ ปฏิบัติงานจริง ส่วนขาด 1 เพชรบูรณ์ 96 19 (19.79%) 77 2 พิษณุโลก 79 5 (6.32%) 74 3 สุโขทัย 55 24 (43.63%) 31 4 ตาก 42 4 (9.52%) 38 5 อุตรดิตถ์ 40 10 (25%) 30 312 62 (19.87) 250
Accountability & Efficiency Heath Service District Health Board Financial Governance Excellence Care Tertiary Care Secondary Care Primary Care ระบบ การ แพทย์ฉุกเฉิน Referral Systems Accountability & Efficiency Person Centeredness Quality Hospital Based Com. & Home Based Holistic / Comprehensive / Integrated / Continuity Community / Social – DHS คืนข้อมูล ระบบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ภายหลังการเกิด Stroke ระบบบริการปฐมภูมิ Pcc ประชาชน ได้อะไร? ได้อะไร? เพิ่มการเข้าถึงบริการ ที่หน่วย ปฐมภูมิ และสามารถลดค่าใช้จ่ายของประชาชน จากการเดินทางไป Pcc ได้ 1,655.37 บาท/คน (ค่าเดินทาง ค่าอาหาร ผู้ป่วยและญาติขาดรายได้ และค่ารักษา/ค่ายา) ลดการเจ็บป่วยของผู้ป่วย โรคเรื้อรังที่ต้องรักษา เป็นผู้ป่วยใน ลดจำนวนวันนอน ได้ 41-57 % ลดผู้ป่วยติดเตียง ภายหลังการเกิด Stroke ลดค่าใช้จ่ายได้ 4-30% ลดการสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (URI) และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (AD) ได้ 15 - 30% ระบบบริการปฐมภูมิ Pcc ที่มีประสิทธิภาพ ที่มาของข้อมูล: 1. ข้อมูลจากการรวบรวมของคณะทำงานพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการดูแลสุขภาพ ในคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและปฏิรูปสาธารณสุข ด้านการคลังสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ 2. การศึกษา เรื่อง การเปลี่ยนใจมารับบริการและค่าใช้จ่ายของประชาชนจากนโยบายการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โดย สนย. กระทรวงสาธารณสุข
ประชาชน ลดแออัด ลดรอคอย เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดการใช้ห้องฉุกเฉิน ได้อะไร? ลดแออัด ลดรอคอย เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดการใช้ห้องฉุกเฉิน เพิ่มคนรอดชีวิตมากขึ้น ลดโรคและภาวะแทรกซ้อน เพิ่มคนสุขภาพดี ลดพัฒนาการล่าช้าในเด็ก เพิ่มผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ลดค่าใช้จ่ายของประชาชน เพิ่มเงินในกระเป๋าประชาชน ลดค่าใช้จ่ายของประเทศ เพิ่มสุขภาวะของคน 65 ล้านคน
เชิญร่วมเข้า Line@primarycarecluster เพื่อการสื่อสาร สวัสดี