อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
Advertisements

ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
สารสนเทศแสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนที่เข้า สอบ และคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศของผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปี
การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
KKU : แผนระยะยาว พ. ศ ( ) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ ) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ ) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ดร.พงษ์ศักดิ์ ศรีวรกุล ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล. กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.)
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การพัฒนาศักยภาพแรงงาน
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เอกสารหมายเลข 6 ผังความเชื่อมโยงของ (ร่าง) กรอบแนวทางแผนบูรณาการการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ชาติ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ถวิล สร่ายหอม ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรค์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
MK201 Principles of Marketing
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
ตัวชี้วัดที่ 2.6 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีนวัตกรรม (Innovation Base) อย่างน้อย 1 เรื่อง โดย นายแพทย์ชัยพร พรหมสิงห์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน

I สภาพการณ์เศรษฐกิจและสังคมของประชาคมโลกในทศวรรษหน้า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (CHANGE) โลกาภิวัตน์ (GLOBALIZATION) ความเป็นสากล ความเป็นนานาชาติ (INTERNATIONALIZATION) และการรวมกลุ่มประเทศเป็นประชาคม เป็นสังคมฐานความรู้ (KNOWLEDGE BASED SOCIETY) ใช้ความรู้และนวัตกรรม (INNOVATION) เป็นปัจจัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลง 1

I สภาพการณ์เศรษฐกิจและสังคมของประชาคมโลกในทศวรรษหน้า (ต่อ) เป็นสังคมข่าวสาร (INFORMATION SOCIETY) เทคโนโลยีสารสนเทศ (INFORMATION TECHNOLOGY) ช่วยให้โลกไร้พรมแดน (BORDERLESS WORLD) เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (LEARNING SOCIETY) ตลอดชีวิต ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เป็นสังคมที่มีการแข่งขันสูง (COMPETITION) ต้องก้าวมั่น ทันโลก - แข่งขันได้ 2

II ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการอุดมศึกษาในปัจจุบันและอนาคต มีการเปลี่ยนแปลง ที่รวดเร็ว (CHANGE) ในประชาคมโลก การแข่งขันที่เข้มข้น (COMPETITION) 3

การอุดมศึกษากับสังคม ทุกสังคมต้องการ “การอุดมศึกษา” เพื่อพัฒนาคนให้เป็นพลเมืองดี มีอาชีพการงาน เป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้า คุณภาพของคน เป็นผลที่เกิดจากการศึกษาที่มีคุณภาพในทุกระดับและประเภท เพื่อให้สังคมพึ่งตนเองได้ พัฒนาได้และแข่งขันได้ III การอุดมศึกษากับสังคม การศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “การอุดมศึกษา” จึงเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนา ด้วยการ “สร้างคน” และ “สร้างความรู้” สู่ความเป็นเลิศ เพื่อเป็นปัจจัยและกลไกของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์ 4

IV ผลการจัดอุดมศึกษาในประเทศไทยในระยะที่ผ่านมา สำเร็จเชิงปริมาณในระดับสูง การขยายโอกาสให้เป็นการศึกษาเพื่อมวลชน (MASSFICATION) ประเมินตามนโยบายและการตอบสนองความต้องการของรัฐและเอกชน สำเร็จเชิงคุณภาพและการตอบสนอง ความต้องการ ของรัฐและเอกชน ในระดับปานกลางและระดับต่ำ บัณฑิต การวิจัยและนวัตกรรม การขาดแคลนกำลังคนด้านช่างฝีมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันต่ำ 5

หลักฐานเชิงประจักษ์ด้านการขยายโอกาสอุดมศึกษาสู่มวลชน การเพิ่มจำนวนสถาบันอุดมศึกษา V หลักฐานเชิงประจักษ์ด้านการขยายโอกาสอุดมศึกษาสู่มวลชน การเพิ่มจำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษา (ร้อยละต่อประชากรวัยอุดมศึกษา) 6

:173 แห่ง เพิ่มขึ้น 68 แห่ง 64.8% :105 แห่ง เพิ่มขึ้น 33 แห่ง 84.6% 2 แห่ง 5.3% เพิ่มขึ้น 5 แห่ง 18.5% เพิ่มขึ้น 20 แห่ง 100% เพิ่มขึ้น 8 แห่ง 800% :173 แห่ง เพิ่มขึ้น 68 แห่ง 64.8% :105 แห่ง 7

จำนวนสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ช่วงเวลา มหาวิทยาลัยของรัฐ วิทยาลัยครู หรือมหาวิทยาลัยราชภัฎ สถาบัน/มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาลัยชุมชน สถาบันอุดมศึกษาเอกชน รวม ก่อน พ.ศ.2542 27 38 1 - 39 105 หลัง พ.ศ.2542 32 40 9 20 72 173 เพิ่มขึ้น 5 2 8 33 68 เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.5 5.3 800.0 100.0 84.6 64.8 8

32.9% 35.2% 39.1% 40.0% 40.8% 41.9% 44.2% 48.1% 47.7% 48.6% 50.1% 52.6% 51.4% 51.2% 9

ประชากรวัยเรียนอุดมศึกษา นักศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ประชากรวัยเรียนอุดมศึกษา นักศึกษาระดับอุดมศึกษา ร้อยละของนักศึกษา/ ประชากรวัยอุดมศึกษา ล้านคน ร้อยละ 2542 5.50 1.81 32.90 2543 5.40 1.90 35.20 2544 5.34 2.09 39.10 2545 5.38 2.15 40.00 2546 5.39 2.20 40.80 2547 5.37 2.25 41.90 2548 2.36 44.20 2549 5.29 2.34 48.10 2550 5.20 2.50 2551 5.09 2.43 47.70 2552 4.97 2.42 48.60 2553 4.85 50.10 2554 4.75 52.60 2555 4.73 51.40 2556 4.69 2.40 51.20 10

VI หลักฐานเชิงประจักษ์ ด้านคุณภาพ ความสามารถในการแข่งขัน VI หลักฐานเชิงประจักษ์ ด้านคุณภาพ การจัดอันดับการศึกษาโลก การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก 11

ความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปี ค.ศ.2013 การจัดอันดับของ International Institute for Management Development (IMD) ความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปี ค.ศ.2013 Economic Performance แต่ละปัจจัยหลักแบ่งเป็น 5 Sub-Factors รวม 20 Sub-Factors แต่ละปัจจัยย่อยมีเกณฑ์ชี้วัด (Criteria) ปัจจัยหลักที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบ Competitiveness Factors Government Efficiency Business Efficiency Infrastructure สาธารณูปโภคพื้นฐาน เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม การศึกษา 3 12

ผลการจัดอันดับด้านการศึกษา ค.ศ.2012-2013  4 13

 เทียบกับ IMD 2012 พบว่าทุกเกณฑ์ชี้วัดในปัจจัยย่อยด้านการศึกษาของ IMD 2013 ทั้ง 16 ตัว ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ลดลงถึง 13 ตัว ส่วนอีก 3 ตัว อยู่ในอันดับเท่าเดิม 5 14

การจัดอันดับดัชนี Pearson ปี 2014 (ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มสุดท้าย ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีคะแนนต่ำที่สุด) ตาราง 1 อันดับดัชนี Pearson 2014 จำแนกตามคะแนน Z-Score เป็น 5 กลุ่ม รายประเทศ 6 15

การจัดอันดับดัชนี Pearson ปี 2014 – 20 อันดับแรก 20 อันดับประเทศที่มีการศึกษาดีที่สุดในโลก ปี 2014 4 ใน 5 อันดับแรกเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค แผนภาพ 1 อันดับดัชนี Pearson 2014-20 อันดับแรก 7 16

การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา โดย Times Higher Education World University Ranking 2013-2014 17

การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก 100 อันดับแรก 9 18

 การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา โดย University Ranking by Academic Performance (URAP) November 12, 2014 Number of Articles (Scientific Productivity)  21 % URAP Ranking เน้นการจัด อันดับคุณภาพทางวิชาการ (Academic Quality) โดยอาศัย 6 ตัวชี้วัด Citation (Research Impact) 21 % Total Document Count (Scientific Productivity) 10 % Article Impact Total (Research Quality) 18 % Citation Impact Total (Research Quality) 15 % International Collaboration (International Acceptance) 15 % 19

 ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก TOP 2000 แห่ง ของ URAP แบ่งเป็น กลุ่ม B+ ประมาณ 1000 แห่ง กลุ่ม B ประมาณ 500 แห่ง 20

 URAP-University Ranking Academic Performance 2014-2015 World Ranking Thailand (17) World Ranking University Name Category 437 Mahidol University A 479 Chulalongkorn University 730 Chiang Mai University B++ 838 Khon Kaen University 880 Phramongkutklao College of Medicine 937 Prince Songkla University B+ 995 Kasetsart University 1073 King Mongkuts University of Technology Thonburi 1370 Thammasat University 1390 Suranaree University of Technology 1584 King Mongkuts University of Technology Ladkrabang B 1591 Asian Institute of Technology 1625 Naresuan University 1720 Srinakarinwirot University 1754 Mae Fah Luang University 1767 Mahasarakham University 1856 Silpakorn University 21

VII สรุป: เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ ในประชาคมโลก อุดมศึกษาไทยในภาพรวมมีความสำเร็จเชิงปริมาณในระดับสูงด้านการขยายโอกาสให้เป็นการศึกษาเพื่อมวลชน (MASSIFICATION) แต่ยังด้อยคุณภาพและยังไม่ตอบสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศ ยังอ่อนด้อยด้านความสามารถใน การ “แข่งขัน” ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญของโลกในยุคปัจจุบันและอนาคต 22

อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน