การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนที่ 14 อายุรกรรม. จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วย SEPSIS ( ร้อยละ )
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 พฤษภาคม 2557

Thailand HIV/AIDS Situations HIV prevalence (2013) Condom use at last sex (2012) ANC 0.43% ↔ Military conscripts 0.5% ↔ FSW 2.2% (2012) ↔ MSM 7.1% (2012) ↑ MSW 12.2% (2012) ↑ PWID 25.2% (2012) ↑ Migrant 0.81-1.0% (2012) ↔ FSW 93.6% ↔ MSM 85.5% ↑ PWID 49.1% ↑ ม.5/อาชีวะ 72-73% ↑ VCT and knowing status (2012) Status of epidemics ANC represents a prevalence of HIV in women. Military conscripts represents a prevalence of HIV in men. FSW 55.6% ↑ MSM 25.6% ↑ MSW 52.4% ↑ PWID 43.6% ↑ Needle and Syringe exchange PWID 78% (2010) 81%(2012) Source: IBBS and Sentinel surveillance in 2013 Thailand AIDS Response Report

อัตราการติดเชื้อในกลุ่มประชากรเฝ้าระวัง ที่มา: รายงานผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี ส.ระบาดวิทยา

อัตราป่วย STI รวม 5 โรค จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2547-2556 year Total age <15 15-24 25-34 35-44 45-54 55-64 65+ 2547 29.29 3.71 48.40 47.35 39.38 27.24 14.43 10.48 2548 24.78 3.25 43.92 36.82 33.55 23.44 13.31 10.09 2549 23.73 3.44 49.21 34.03 29.60 19.06 11.67 10.64 2550 21.09 3.55 46.23 29.86 24.23 16.58 10.26 10.25 2551 19.32 3.84 47.21 25.69 20.80 13.79 8.95 8.56 2552 21.62 4.74 54.27 29.19 21.41 15.47 9.98 9.85 2553 20.44 5.00 55.41 26.63 18.21 13.76 8.63 9.78 2554 21.86 4.91 58.73 29.12 20.03 14.89 9.50 10.42 2555 20.23 5.69 54.91 27.51 17.07 12.69 8.91 10.14 2556 18.49 5.02 51.58 23.86 14.30 12.13 9.23 10.17 ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรค (รง.506) ส.ระบาดวิทยา

อัตราป่วย STI รวม 5 โรค จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2547-2556 ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรค (รง.506) ส.ระบาดวิทยา

อัตราป่วย STI รวม 5 โรค จำแนกตามโรค ปี 2547-2556 ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรค (รง.506) ส.ระบาดวิทยา

การคาดประมาณสถานการณ์จำนวนผู้ติดเชื้อใหม่ ผู้เสียชีวิต และผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี

การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ที่มา: Summary Result 2010-2030 Projection for HIV/AIDS in Thailand, BOE. DDC. MOPH.

ภาพรวมสถานการณ์การระบาดเอชไอวี จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทยลดลงแต่ความชุกของการ ติดเชื้อเอชไอวีในประชากรหลักยังอยู่ในระดับสูงและลดลงไม่ เป็นไปตามเป้าหมาย แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีในประชากรทั่วไปคงที่ แต่พบ อุบัติการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มสูงขึ้นโดยเฉพาะ เยาวชน ความครอบคลุมการเข้าถึงบริการและพฤติกรรมปลอดภัยเพิ่มขึ้น (การใช้ถุงยางอนามัย, VCT, NSEP, MMT)

รายงานผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ลงทะเบียนในฐานข้อมูล NAP-Plus ณ 30 กันยายน 2556 รายงานผู้ติดเชื้อลงทะเบียนรับบริการสะสม 388,833 คน ยังมีชีวิตและมารับบริการ 256,391 คน แบ่งเป็น - รับยาต้านไวรัส 227,451 คน (ผู้ใหญ่ 222,361 คน เด็ก 5,090 คน) - ไม่ได้รับยาต้าน 28,940 คน (ผู้ใหญ่ 28,475 คน เด็ก 465 คน) เป็นผู้รับบริการสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 74% ของทั้งหมด (รับยาต้าน 175,559 คน และไม่ได้รับยาต้าน 13,806 คน) ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ , สรุปข้อมูล ณ 31 ธค 56

80% Coverage of ART need (CD4<350) ART Coverage among Persons Living with HIV Number of PLHA Receiving ART (2001-2013) Estimated persons living with HIV by CD4 levels 80% Coverage of ART need (CD4<350) PLHA-CD4 ≤ 500 246,049 PLHA-≤ 350 Source: AIDS Epidemic Model (AEM), NHSO – NAP-Plus, SSO, CSMBS, GF, and Thai GPO 15

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ยังมีชีวิตและมารับบริการ (ทุกสิทธิ) แบ่งตามเขตสคร. ณ 30 กันยายน 2556 ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (http://napdl.nhso.go.th/NapDownload)

ร้อยละของผู้ที่ยังรับยาต้านไวรัสและมี VL<50 copies/ml (เฉพาะสิทธิUC) แบ่งตามเขตสคร. ณ 30 กันยายน 2556 ภาพรวมประเทศ 73% ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (http://napdl.nhso.go.th/NapDownload)

อัตราเสียชีวิต (เฉพาะสิทธิUC) แบ่งตามเขตสคร. พ.ศ. 2556 อัตราเสียชีวิตในผู้ที่ยังไม่ได้รับยา (%) อัตราเสียชีวิตในผู้รับยาในช่วง 1 ปีแรกหลังเริ่มยา (%) 1 11.5 7.4 2 15.7 9.4 3 15.1 4 13.7 7.8 5 18.4 9.2 6 14.2 10.3 7 15.4 8 16.4 8.9 9 14.5 6.7 10 9.8 8.5 11 12.8 12 14.3 ภาพรวมประเทศ 13.8 แนวโน้มไม่ลดลง

สัดส่วนของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ผู้ใหญ่ที่มี CD4<100cells/cu.mm ณ เริ่มรับยาต้านไวรัส (เฉพาะสิทธิUC) แบ่งตามเขตสคร. พ.ศ. 2551-2556 % ภาพรวมประเทศ 47% ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (http://napdl.nhso.go.th/NapDownload)

อัตราการรักษาล้มเหลว (VL>1,000 copies/ml) ที่ 1 ปีแรกหลังเริ่มยา (เฉพาะสิทธิUC) ปี 2556 สคร. อัตราการรักษาล้มเหลว (%) ในผู้ใหญ่ อัตราการรักษาล้มเหลว (%) ในเด็ก %ของ รพ. ที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย (0%) 1 8.3 24.3 ~35 2 9.3 33.3 ~50 3 7.1 23.8 < 50 4 7.5 4.2 <40 5 6.6 26.9 <60 6 6.7 12.8 ~49 7 6.9 22.2 ~61 8 8.1 11.1 9 8.8 <50 10 5.9 29 ~46 11 12.5 ~ 60 12 7.8 25 ~ 80 ประเทศ 7.2 20.0 แนวโน้มไม่ลดลง

สรุปปัญหา ผู้ติดเชื้อฯที่ยังไม่ได้เริ่มกินยายังคงมารับบริการอยู่ในระบบในสัดส่วนที่ต่ำ ยังคงมีผู้ติดเชื้อฯที่มารับบริการที่เข้าเกณฑ์รับยา แต่ยังไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส อัตราเสียชีวิตขณะยังมารับบริการสูงมากและไม่ลดลง ในผู้ที่ไม่ได้รับยา และผู้รับยาในช่วง 1 ปีแรกหลังเริ่มยา การเข้าถึงระบบบริการรักษาช้า ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต แนวโน้มอัตราการรักษาล้มเหลวที่ 1 ปีแรกหลังเริ่มยาไม่ลดลง แนวโน้มอัตราขาดการติดตามการรักษารายใหม่ต่อปีเพิ่มขึ้น แนวโน้มการเปลี่ยนสูตรยาจากสาเหตุดื้อยาใน 1 ปีแรกหลังเริ่มยา เพิ่มขึ้น

ข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านการดูแลรักษา ส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อฯ ได้รับการวินิจฉัยและเข้าสู่การรักษาแต่เนิ่นๆ ที่ภูมิต้านทานยังไม่ต่ำ สร้างความเข้มแข็งระบบบริการ และเพิ่มศักยภาพบุคลากร และแกนนำผู้ติดเชื้อฯ ในการพัฒนาและปรับปรุงแนวทางให้บริการให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น ติดตามผลการดำเนินงานจากระบบข้อมูลที่มีอยู่ และค้นหาสาเหตุ เพื่อใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพระบบบริการ

ความครอบคลุมการส่งตรวจ ผลการวัดความครอบคลุมของการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัสของโรงพยาบาลด้วย HIVQUAL-T ความครอบคลุมการส่งตรวจ การได้รับยาต้าน และยาป้องกัน การคัดกรองโรค ที่มา: รายงานผลการพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ผู้ใหญ่และเด็กในประเทศไทย (HIVQUAL-T)

ข้อสรุปจากการพัฒนามาตรฐานการดูแลรักษา มาตรฐานการดูแลรักษามีการพัฒนาดีขึ้นอย่างชัดเจน เช่น การคัดกรองด้านต่างๆ ทั้งวัณโรค มะเร็งปากมดลูก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การติดตามการรักษา เช่น ความครอบคลุมการตรวจ CD4 และ Viral load การให้ยา ARV ตามเกณฑ์ และการให้ยาป้องกันปอดอักเสบ รพ.ที่เข้าร่วมโครงการมีผลการดำเนินงานดูแลรักษา โดยเฉพาะการลดอัตราการขาดนัด และความครอบคลุมการส่งตรวจ Viral load ดีกว่า รพ.ที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ

PROGRAM RESPONSES การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง การสนับสนุนและจัดชุดบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV และSTIs จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผลิตสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลอ้างอิงทางวิชาการด้านโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การปรับภาพลักษณ์และส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย การส่งเสริมการตรวจหาการติดเชื้อ การทำงานเชิงรุกเพื่อเข้าถึงกลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบ การสนับสนุนถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น การสนับสนุนโครงการแลกเปลี่ยนเช็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาด การขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันเอดส์ในสถานศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมบริการที่เป็นมิตร

PROGRAM RESPONSES การพัฒนาแนวทางระดับชาติด้านการป้องกันและดูแลรักษา การสนับสนุนการดูแลรักษาโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีสำหรับ MSM&TG, FSW แนวทางการป้องกัน และรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการดำเนินงานป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและลดอันตรายในกลุ่มผู้ใช้ยาชนิดฉีดสำหรับบุคลากรสุขภาพ แนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในเรือนจำ การพัฒนาแนวทางการกำจัดโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด การพัฒนาคุณภาพบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การพัฒนาบริการให้คำปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี การพัฒนาระบบการรักษาเชิงรุกในทารกแรกเกิด การติดตามการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสและการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในประเทศไทย การเฝ้าระวังเชื้อหนองในดื้อยา บูรณาการทำงาน TB/HIV