วันที่ 22 มกราคม 57 ณ ห้องประชุมศรีไผท สสจ.สุรินทร์ การประชุมชี้แจงตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงานควบคุม การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ปี 2557.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
กลุ่มเกษตรกร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันที่ 22 มกราคม 57 ณ ห้องประชุมศรีไผท สสจ.สุรินทร์ การประชุมชี้แจงตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงานควบคุม การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ปี 2557

*ลำดับที่ เรียงตามอัตราการสูบบุหรี่ที่ต่ำสุดไปสูงสุด แหล่งข้อมูล : โครงการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร พ.ศ และ 2554 : สำนักงานสถิติแห่งชาติ,วิเคราะห์โดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) มหาวิทยาลัยมหิดล สถานการณ์การบริโภคยาสูบ จังหวัดสุรินทร์ อายุ 15 ปี ขึ้นไป

แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ เป้าหมาย เพื่อ 1. ลดอัตราการการบริโภคยาสูบของประชาชน 2. ลดปริมาณการบริโภคยาสูบต่อหัวประชากร 3. ทำให้สิ่งแวดล้อมปลอดควันบุหรี่ที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพของประชาชน

ลดอัตรา การ บริโภค ยาสูบ และทำให้ สิ่งแวดล้อ มปลอด ควันบุหรี่ 2. ส่งเสริมการลด และเลิกใช้ยาสูบ 3. ลดพิษภัยใน ผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. สร้าง สิ่งแวดล้อมปลอด ควันบุหรี่ 5. เสริมความ เข้มแข็งและ พัฒนาขีด ความสามารถใน การควบคุมยาสูบ 6. ควบคุมการค้า ผลิตภัณฑ์ยาสูบผิด กฎหมาย 7. แก้ปัญหา ยาสูบด้วยภาษี 8.เฝ้าระวังและ ควบคุม อุตสาหกรรมยาสูบ 1. ป้องกันผู้สูบราย ใหม่ ยุทธศาสตร์ควบคุมยาสูบไทย

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 1 ป้องกัน นักสูบรายใหม่ วิธี -ให้ความรู้ เยาวชนและครู -ส่งเสริมให้ทุก คนมีส่วนร่วมใน การรณรงค์ ต่อต้านการ บริโภคยาสูบ โรงเรียน/ สถานศึก ษาปลอด บุหรี่ ร.ร. มัธยมศึกษา ตอนปลาย/ อาชีวศึกษา 1.มีนโยบายและแผนงานปลอดบุหรี่/ สถานศึกษา 2.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3.มีการจัดสถานที่ปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 4.มีการประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนัก ผ่านระบบสื่อสารของ โรงเรียน/ สถานศึกษา 5.มีการเรียนการสอนทั้งในและนอก หลักสูตร 6.ไม่มีการสุบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน 7.ไม่มีการขายบุหรี่ในโรงเรียน 8.มีการเฝ้าระวังป้องกันการสูบบุหรี่ทั้งใน และนอกโรงเรียน โดยสารวัตรนักเรียน/ แกนนำ/ผู้ปกครอง ชุมชน 9.มีการจัดการช่วยเหลือผู้ติดบุหรี่อย่าง เหมาะสม 10.มีการติดตาม กำกับและจัดทำรายงาน สรุปผลการดำเนินงาน 1. จำนวน รร. มัธยมศึกษ าตอนปลาย 2. จำนวน อาชีวศึกษา ที่เข้าร่วม โครงการ ≥ ร้อยละ 20 ของจำนวน โรงเรียน/ สถานศึกษา ในพื้นที่ รับผิดชอบ หมายเหตุ - จัดประชุมครู เรื่องการดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ พ.ค-มิ.ย จัดประกวดโรงเรียนปลอดบุหรี่ต้นแบบประมาณ ส.ค.57 - โรงเรียนต้นแบบจะได้รับโล่และเงินรางวัล หมายเหตุ - จัดประชุมครู เรื่องการดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ พ.ค-มิ.ย จัดประกวดโรงเรียนปลอดบุหรี่ต้นแบบประมาณ ส.ค.57 - โรงเรียนต้นแบบจะได้รับโล่และเงินรางวัล แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 2 -ส่งเสริม ให้ ผู้บริโภคลดและ เลิกใช้ยาสูบ วิธี -ส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการ บริการเลิกยาสูบ เชื่อมโยงอย่าง เป็นระบบ โดยเฉพาะใน ชุมชน สร้าง/ พัฒนาระบบ ให้บริการผู้ เสพยาสูบ -สถานบริการ สาธารณสุข -เครือข่ายที่ เกี่ยวข้อง เกณฑ์ รพศ./รพท./รพช. 1.มีนโยบายและแผนการพัฒนาระบบบริการ เลิกยาสูบของสถานพยาบาลและชุมชน 2.มีคณะทำงานรับผิดชอบ/ดำเนินการตามแผน 3.มีการคัดกรองผู้สูบบุหรี่ในผู้ป่วยนอก (OPD)ทุกราย 4.มีการให้บริการแนะนำช่วยเลิกบุหรี่ในคลินิก โรคเรื้อรัง/คลินิกช่วยเลิกบุหรี่ ตามบริบทของ สถานพยาบาล 5.มีระบบข้อมูล/รายงานการดำเนินงานช่วยเลิก ยาสูบของสถานพยาบาล 6.มีบริการแนะนำและช่วยเลิกยาสูบในชุมชน 7.มีการบริการช่วยเลิกยาสูบผ่านช่องทางต่างๆ เช่น โทรศัพท์ เป็นต้น 8.มีการติดตามผลการให้บริการช่วยเลิกยาสูบ เกณฑ์ รพ.สต. 1.มีนโยบาย/ผู้รับผิดชอบให้บริการเลิกยาสูบใน รพ.สต.และมีการเชื่อมโยงการดำเนินการอย่าง เป็นรูปธรรม 2.มีการคัดกรองผู้สูบบุหรี่ทุกราย 3.มีการให้บริการแนะนำช่วยเลิกยาสูบตาม บริบท รพ.สต. 4.มีข้อมูล/รายงานการดำเนินงานช่วยเลิกยาสูบ รพ.สต. 5.มีบริการช่วยเลิกยาสูบในชุมชน 6.มีการติดตามผลการให้บริการเลิกยาสูบ 1. ร้อยละของรพ ศ./รพช. ภายใน จังหวัดมีการ ให้บริการเลิก บุหรี่ตามเกณฑ์ ที่กำหนด 2.ร้อยละ ของ รพ.สต. ภายใน จังหวัดมีการ ให้บริการช่วย เลิกบุหรี่ 3.มีการแนะนำ ช่วยเลิกยาสูบใน ชุมชนโดย อาสาสมัครที่ ผ่านการอบรม 4.อัตรา ความสำเร็จใน การให้บริการ เลิกบุหรี่ ผู้สูบ บุหรี่เลิกบุหรี่ ติดต่อ กันเป็น เวลา 6 ด. ร้อยละ 50 ร้อยละ 10 อย่างน้อย 1 ชุมชน/1 รพ. ร้อยละ 5 หมายเหตุ - คัดเลือกสถานบริการต้นแบบการเลิกบุหรี่ เดือนส.ค.57 - สถานบริการต้นแบบจะได้รับโล่พร้อมเงินรางวัล หมายเหตุ - คัดเลือกสถานบริการต้นแบบการเลิกบุหรี่ เดือนส.ค.57 - สถานบริการต้นแบบจะได้รับโล่พร้อมเงินรางวัล แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 4 -สร้างสิ่งแวดล้อม ให้ปลอดบุหรี่ ให้ ผู้บริโภคลดและ เลิกใช้ยาสูบ วิธี -ส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการ ปฏิบัติตาม กฎหมายในทุกที่ที่ กำหนดให้ปลอด ควันบุหรี่ การดำเนินการ ให้สถานที่ สาธารณะ/ สถานที่ทำงาน เป็นเขตปลอด บุหรี่ตาม กฎหมาย 1.สถานบริการ สาธารณสุขและ ส่งเสริมสุขภาพ 2.สถานที่ ราชการ 3.ตลาด 4.สถานีขนส่ง สาธารณะ 5.ร้านอาหาร/ ภัตตาคาร เกณฑ์ การดำเนินการของ รพ. จัดเป็นเขตปลอดบุหรี่ ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดผ่าน (18 คะแนนจาก 25 คะแนน) 1. เขตปลอดบุหรี่ 1.1 มีป้ายประกาศ รพ.เป็นเขตปลอดบุหรี่ถาวรด้านหน้ารพ. 1.2 มีเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ ทางเข้า-ออกของรพ. (ตั้งแต่ประตู/รั้ว/ขอบเขต ของสถานที่เห็นเด่น ภายในอาคารของ รพ ห้องสุขา (ทั้งด้านในและด้านหน้า) ยานพาหนะส่วนกลาง 1.3 ไม่มีการสูบบุหรี่ 2.ไม่มีการกระทำ ดังนี้ 2.1 จำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบในโรงพยาบาล 2.2 โฆษณาและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ยาสูบใน รพ. 2.3 การรับทุนอุดหนุนหรือสนับสนุนเงิน สิ่งอื่นๆ จาก อุตสาหกรรมยาสูบ 3. มีการเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมาย 3.1 มีการมอบหมายจนท.ตรวจตราจุดเสี่ยง 3.2 มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง 3.3 มีการให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยในรพ.อย่างต่อเนื่อง 3.4 มีมาตรการทางกม.ในกรณีมีการละเมิดกฎหมาย 4. มีนโยบาย 4.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน/มอบหมาย/ผู้รับผิดชอบ 4.2 มีการจัดและดำเนินงานตามแผนงานรพ.ปลอดบุหรี่ 4.3 มีการให้คำแนะนำเลิกบุหรี่/ส่งต่อ/มีคลินิกเลิกบุหรี่ 4.4 มีนโยบายให้บุคลากรในรพ.เลิกบุหรี่ 4.5 มีการสำรวจการสูบบุหรี่ของบุคลากรในรพ.และ สนับสนุนให้เลิกบุหรี่ ร้อยละของ สถานบริการ สาธารณสุข และส่งเสริม สุขภาพ ปลอดบุหรี่ ร้อยละ 100 แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 4 -สร้าง สิ่งแวดล้อม ให้ ปลอดบุหรี่ ให้ ผู้บริโภคลด และเลิกใช้ ยาสูบ วิธี -ส่งเสริมและ สนับสนุนให้มี การปฏิบัติตาม กฎหมายในทุก ที่ที่กำหนดให้ ปลอดควันบุหรี่ การ ดำเนินการ ให้สถานที่ สาธารณะ/ สถานที่ ทำงาน เป็นเขต ปลอดบุหรี่ ตาม กฎหมาย 1.สถาน บริการ สาธารณสุข และส่งเสริม สุขภาพ 2.สถานที่ ราชการ 3.ตลาด 4. สถานี ขนส่ง สาธารณะ 5.ร้านอาหาร/ ภัตตาคาร เกณฑ์การดำเนินการของบริการสาธารณสุข และส่งเสริมสุขภาพนอกจาก รพ.ให้จัดเป็น เขตปลอดบุหรี่ (ผ่าน5ข้อ) ดังนี้ 1. มีการติดป้ายประกาศเป็นเขตปลอดบุหรี่ ถาวรด้านหน้าสถานบริการสาธารสุขและ ส่งเสริมสุขภาพ 2. มีการติดเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ ทางเข้า-ออก 3. มีการติดเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ บริเวณอื่นๆ ที่เห็นเด่น ภายในอาคาร ห้อง สุขา ทั้งภายในและรอบๆ สถานที่ 4. ไม่มีอุปกรณ์/สิ่งอำนวยความสะดวกใน การสูบบุหรี่ 5. ไม่มีการสูบบุหรี่ในที่ห้ามสูบ ร้อยละ 100 หมายเหตุ สถานที่ส่งเสริมสุขภาพ ตามคำนิยามของกระทรวง หมายถึง 1. คลินิก 2. ร้านขายยา 3. นวดแผนไทย/โบราณ และสปาเพื่อสุขภาพ หมายเหตุ สถานที่ส่งเสริมสุขภาพ ตามคำนิยามของกระทรวง หมายถึง 1. คลินิก 2. ร้านขายยา 3. นวดแผนไทย/โบราณ และสปาเพื่อสุขภาพ แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 4 -สร้างสิ่งแวดล้อม ให้ปลอดบุหรี่ ให้ ผู้บริโภคลดและ เลิกใช้ยาสูบ วิธี -ส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการ ปฏิบัติตาม กฎหมายในทุกที่ ที่กำหนดให้ปลอด ควันบุหรี่ การ ดำเนินการ ให้สถานที่ สาธารณะ/ สถานที่ ทำงานเป็น เขตปลอด บุหรี่ตาม กฎหมาย 1.สถานบริการ สาธารณสุขและ ส่งเสริมสุขภาพ 2.สถานที่ ราชการ 3.ตลาด 4. สถานีขนส่ง สาธารณะ 5.ร้านอาหาร/ ภัตตาคาร เกณฑ์การดำเนินการของสถานที่สาธารณะ (สถานที่ราชการ /ตลาด /สถานีขนส่งสาธารณะ / ร้านอาหาร/ภัตตาคาร) มีดังนี้ 1. มีการติดป้ายประกาศเป็นเขตปลอดบุหรี่ถาวร ด้านหน้าสถานที่สาธารณะ 2. มีการติดเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ ทางเข้า- ออก 3. มีการติดเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ บริเวณอื่นๆ ที่เห็นเด่น ภายในอาคาร ห้องสุขา ทั้งภายในและ รอบๆ สถานที่ 4. ไม่มีอุปกรณ์/สิ่งอำนวยความสะดวกในการสูบ บุหรี่ 5. ไม่มีการสูบบุหรี่ในที่ห้ามสูบ 6. มีผู้รับผิดชอบ เฝ้าระวังตักเตือนผู้ฝ่าฝืน กรณีที่จัดเขตสูบบุหรี่ ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1.ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญผู้อยู่ ใกล้เคียง 2.ไม่อยู่บริเวณทางเข้า-ออกของสถานที่ 3.ไม่ได้อยู่บริเวณที่เปิดเผยที่เห็นชัดเจน 4.มีการติดเครื่องหมายบอกทางไปเขตสูบบุหรี่ ร้อยละของ สถานที่ ราชการ ปลอดบุหรี่ ร้อยละของ ตลาดถาวร ปลอดบุหรี่ ร้อยละของ สถานีขนส่ง สาธารณะ ปลอดบุหรี่ ร้อยละของ ร้านอาหาร ภัตตาคาร ปลอดบุหรี่ ร้อยละ 90 ร้อยละ 100 ทุกสถานี ขนส่ง สาธารณะหลัก ภาครัฐ ร้อยละ 50 หมายเหตุ อำเภอต้องมีข้อมูล สถานที่ดังต่อไปนี้ สถานที่ราชการ ตลาด สถานีขนส่ง ร้านอาหารทั้งมีแอร์และไม่มีแอร์ และมีผลการดำเนินงานในสถานที่ดังกล่าว หมายเหตุ อำเภอต้องมีข้อมูล สถานที่ดังต่อไปนี้ สถานที่ราชการ ตลาด สถานีขนส่ง ร้านอาหารทั้งมีแอร์และไม่มีแอร์ และมีผลการดำเนินงานในสถานที่ดังกล่าว แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 5 -ส่งเสริมความ เข้มแข็งและ พัฒนาขีด ความสามารถ ในการ ดำเนินงาน ควบคุมยาสูบ ยาสูบ วิธี -การพัฒนา โครงสร้างและ ระบบบริหาร จัดการ หน่วยงาน ควบคุมยาสูบ ในระดับจังหวัด 1.สร้าง ความ เข้มแข็ง การ ดำเนินงา นควบคุม ยาสูบ ระดับ ภูมิภาค ทุกอำเภอ1.จัดตั้งคณะกรรมการหรือบูรณาการ เข้ากับคณะกรรมการควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1.1 มีการจัดประชุมอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี 1.2 มีสรุปรายงานการประชุม 2. กำหนดบทบาทหน้าที่ กิจกรรม/ แผนงานโครงการเพื่อควบคุมยาสูบ มีการแต่งตั้ง คณะกรรมกา รควบคุมการ บริโภคยาสูบ ระดับอำเภอ หรือบูรณา การเข้ากับ คณะกรรมกา รควบคุม เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ระดับอำเภอ ร้อยละ 100 (17) แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 5 -ส่งเสริมความ เข้มแข็งและ พัฒนาขีด ความสามารถ ในการ ดำเนินงาน ควบคุมยาสูบ ยาสูบ วิธี -การพัฒนา ระบบเฝ้าระวัง ควบคุม กำกับ ประเมินผลการ ควบคุมยาสูบ 2. เสริมสร้าง ความ เข้มแข็ง ของระบบ เฝ้าระวัง เพื่อ ควบคุม ยาสูบ ทุกอำเภอระดับอำเภอ 1.มีผู้รับผิดชอบงาน 2.มีการดำเนินเฝ้าระวังเพื่อควบคุม ยาสูบในพื้นที่ 3.มีรายงานผลการดำเนินงานเฝ้าระวัง เป็นรายไตรมาส อำเภอมี กลไกการ ดำเนินงาน เฝ้าระวัง ควบคุมยาสูบ ในพื้นที่ ร้อยละ 100 (17) แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ /วิธี กิจกรรม หลัก กลุ่ม เป้าหมาย เกณฑ์/แนวทางตัวชี้วัดเป้าหมาย ปี 2557 ยุทธ์ 7 -ปรับปรุง กฎหมายและ สร้างความ เข้มแข็งการ บังคับใช้ กฎหมาย การเฝ้า ระวังบังคับ ใช้ กฎหมาย ในพื้นที่ ผู้ประกอบการ/ สถาประกอบการ/ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ระดับอำเภอ 1.มีการจัดตั้งทีมบังคับใช้ กฎหมาย 2.มีแผนการปฏิบัติงานในพื้นที่ 3.มีระบบสนับสนุน/เพิ่ม ประสิทธิภาพให้เกิดการบังคับ ใช้กฎหมาย ดังนี้ -มีการดำเนินการจัดเขตปลอด บุหรี่ตามกฎหมาย -ไม่มีการจำหน่ายยาสูบแก่ บุคคลอายุต่ำกว่า 18ปี -ไม่มีการแจกแถม/โฆษณา ผลิตภัณฑ์ยาสูบมี 4. มีรายงานผลการดำเนินงานเฝ้า ระวังเป็นรายไตรมาส 5. มีสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา และอุปสรรค เพื่อการพัฒนาการ ดำเนินงานครั้งต่อไป 1.อำเภอมี ทีมงานบังคับ ใช้กฎหมาย 2. มีแผนการ ปฏิบัติงาน 3. มีการออก ปฏิบัติงาน ตามแผนที่ กำหนด ร้อยละ 100 (17) แนวทางควบคุมการบริโภคยาสูบ (ต่อ)

*ลำดับที่ เรียงตามอัตราการดื่มแอลกอฮอล์สูงสุดไปต่ำสุด แหล่งข้อมูล : โครงการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร พ.ศ และ 2554 : สำนักงานสถิติแห่งชาติ,วิเคราะห์โดย ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จังหวัดสุรินทร์

ยุทธศาสตร์การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับชาติ เป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ 1. ควบคุมปริมาณการบริโภคของสังคม 2. ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ และ ควบคุมความชุกของ ผู้บริโภค 3. ลดความเสี่ยงของการบริโภค ทั้งในมิติของปริมาณการ บริโภค, รูปแบบของการบริโภค และพฤติกรรมหลังการ บริโภค 4. จำกัดและลดความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภค

15 ควบคุม ปริมาณการ บริโภค ป้องกันนักดื่มหน้า ใหม่และ ควบคุม ความชุกของ ผู้บริโภค ลดความ เสี่ยงของการ บริโภค จำกัดและลด ความรุนแรง ของปัญหา ควบคุมขนาดและความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภค ยุทธศาสตร์ 1 ควบคุมการเข้าถึงทาง เศรษฐศาสตร์ และทาง กายภาพ - ราคา - สถานที่และเวลาขาย - การเข้าถึงของ เยาวชน ยุทธศาสตร์ 2 ปรับเปลี่ยนค่านิยม และ ลดแรงสนับสนุน การดื่ม - ควบคุมการตลาด และโฆษณา - ให้ข้อมูล และเพิ่ม โอกาสของการไม่ดื่ม ยุทธศาสตร์ 3 ลดอันตรายของ การบริโภค - ควบคุมการดื่ม ที่เสี่ยงสูง - เมาแล้วขับ - การคัดกรอง รักษา ยุทธศาสตร์ 4 การจัดการปัญหาแอลกอฮอล์ในระดับพื้นที่ - นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชุมชน และ - นโยบายแอลกอฮอล์ของ หน่วยงาน สถานประกอบการ ยุทธศาสตร์ 5 การพัฒนากลไกการจัดการและสนับสนุนที่เข้มแข็ง ( ความมุ่งมั่น การมีส่วนร่วม โปร่งใส การรณรงค์สาธารณะ รากาฐนบนความรู้ ปกป้องผลกระทบจากข้อตกลงการค้า การพัฒนา ศักยภาพเชิงระบบ ) ยุทธศาสตร์ ทั้ง 5 - Price and Availability - Attitude - Risk - Settings - Support = PAARISS เป้าหมายเชิง กลไกทั้งสี่ เป้าหมายหลัก ยุทธศาสตร์ ควบคุมแอลกอฮอล์ระดับชาติ

เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557

จุดเน้นมาตรการหลักมาตรการรองมาตรการสนับสนุน 1. ควบคุมปริมาณการ บริโภคของสังคม ภาษีและราคา ควบคุมการเข้าถึง ควบคุมการโฆษณา มาตรการระดับชุมชน การปราบปราม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นอกระบบภาษี การรณรงค์สาธารณะ 2. ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ และควบคุมความชุกของ ผู้บริโภค ควบคุมการโฆษณา ภาษีและราคา ควบคุมการเข้าถึง การให้ความรู้ การดัดแปลงบริบทและ เงื่อนไขการดื่ม การรู้เท่าทันกลยุทธ์ การตลาดของเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ การรณรงค์สาธารณะ 3. ลดความเสี่ยงของการ บริโภค ควบคุมพฤติกรรมขับขี่ ขณะมึนเมา การดัดแปลงบริบทและ เงื่อนไขการดื่ม ภาษีและราคา ควบคุมการเข้าถึง มาตรการระดับชุมชน ความร่วมมือของ ผู้ประกอบการ การปรับทัศนคติของ สังคมต่อความมึนเมาและ ผลกระทบ การรณรงค์สาธารณะ 4. จำกัดและลดความ รุนแรงของปัญหา การคัดกรองและ บำบัดรักษา ภาษีและราคา ควบคุมการเข้าถึง ระบบบริการสุขภาพ มาตรการระดับชุมชน การรณรงค์สาธารณะ ที่มา : นโยบายยุทธศาสตร์แอลกอฮอล์ระดับชาติ

มาตรการดำเนินงานควบคุมalc. มาตรการกลุ่มเป้าหมายเกณฑ์/แนวทางเป้าหมาย ปี มาตรการควบคุม การเข้าถึง เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ คณะกรรมการควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับ อำเภอ 1.1 มีการจัดประชุม คณะกรรมการควบคุมalc ระดับอำเภอ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1.2 มีสรุปและรายงาน ประชุมทุกครั้ง ร้อยละ 100 (17) ร้านค้า/สถานประกอบการ1.3 มีการออกปฏิบัติการ ตรวจประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวัง และบังคับใช้กฎหมาย ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1.4 จัดระเบียบร้านเหล้ารอบ สถานศึกษา ≥ 6 ครั้ง/ปี/อำเภอ 2. มาตรการระดับ ชุมชน ทุกอำเภอ2.1 ส่งเสริม สนับสนุน ชุมชนในการกำหนดพื้นที่ หรือเงื่อนไขการควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มเติม (งานเทศกาล หรือ งานประเพณี) 2.2 สร้างพื้นที่ปลอดเหล้า อำเภอละ 1 เทศกาล (ให้ ส่งปฏิทินงานเทศกาล ของอำเภอว่าจะจัดในช่วง ใด)

มาตรการดำเนินงานควบคุมalc. (ต่อ) มาตรการกลุ่มเป้าหมายเกณฑ์/แนวทางเป้าหมาย ปี มาตรการควบคุม การโฆษณา ร้านค้า/สถานประกอบการ-ดำเนินการเฝ้าระวังการ โฆษณา และสื่อสาร การตลาดทางสื่อต่างๆ และสื่อบุคคล ทุกอำเภอ 4. มาตรการรณรงค์ สาธารณะ ประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้และ ปรับเปลี่ยน ทัศนคติ โรงเรียนมัธยมศึกษาทุก แห่ง -ดำเนินการประชาสัมพันธ์ กฎหมาย หรือโทษ พิษ ภัยของเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ดำเนินการในพื้นที่ 2 ครั้ง/เดือน

ขอบเขตการดำเนินงาน  พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535  พรบ.คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535  พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551  รวมถึงกฎกระทรวง และประกาศเพิ่มเติมที่ออกตาม ความในพระราชบัญญัติดังกล่าว

กิจกรรมที่ต้อง ดำเนินการ

1.1 ทะเบียนร้านค้าที่จำหน่ายบุหรี่-สุรา 1.2 ทะเบียนสถานที่สาธารณะ 1.2.1) สถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพ 1.2.2) สถานที่ราชการ 1.2.3) สถานศึกษา 1.2.4) ตลาด 1.2.5) สถานีขนส่ง 1.2.6) ร้านอาหาร 1.2.7) สถานที่สาธารณะอื่นๆ

2.1 ประชุมคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง และสรุปการประชุม 2.2 จัดทำแผนงาน/โครงการ

โดยมีกิจกรรม ดังต่อไปนี้ 3.1 รับเรื่องร้องเรียน และตรวจสอบกรณีได้รับเรื่อง ร้องเรียน 3.2 ออกตรวจเฝ้าระวัง ตรวจเตือน ตรวจสอบ และบังคับ ใช้กฎหมาย (≥6 ครั่ง/ปี) - ร้านค้าที่จำหน่ายบุหรี่ – สุรา - สถานที่สาธารณะตามที่กฎหมายกำหนด

การเตรียมความพร้อมก่อนออกปฏิบัติงาน -บัตรพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สามารถแสดงได้ทันทีอย่างน้อย 1 คน -อุปกรณ์พื้นที่จำเป็นในการรวบรวมพยานหลักฐาน เช่น กล้องถ่ายรูป -แบบบันทึกการตรวจสถานที่/แบบบันทึกคำให้การ -เอกสารที่จำเป็น ได้แก่ พรบ.ทั้ง 3 ฉบับ -สื่อต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แผ่นพับ สติ๊กเกอร์ -ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตำรวจ สรรพสามิต

3.1 ถ้าไม่พบการกระทำความผิด ใช้แบบบันทึกการตรวจสถานที่ - พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบฯ แบบ ศร.01 - พ.ร.บ.คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ฯ แบบ ศร.02 - พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551(ตรวจสถานที่) 3.2 ถ้าพบการกระทำความผิด ใช้บันทึกคำให้การ - พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบฯ แบบ ศร.03 - พ.ร.บ.คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ฯ แบบ ศร.04 - พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 (บันทึกการตรวจสอบ)

โดยการตรวจเยี่ยม 4.1 สถานประกอบการ ที่จำหน่าย บุหรี่-สุรา 4.2 สถานที่สาธารณะ ทั้งของรัฐและเอกชน ใช้แบบบันทึกการดำเนินงานเฝ้าระวัง แบบ ศร.07

- มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อควบคุมการบริโภค บุหรี่-สุรา เช่น งาเทศกาลประจำปี* งานบุญประเพณี หรือวันสำคัญทางศาสนา วันเข้าพรรษา วันงดสูบบุหรี่โลก เป็นต้น

7.1 รายงานผลการดำเนินงานตรวจเฝ้าระวังฯ แบบ ตจ.001 เป็นรายไตรมาส 7.2 รายงานผลการดำเนินงานตรวจเฝ้าระวัง ตาม เทศกาล (ปีใหม่,สงกรานต์, เข้าพรรษา ) 7.2 สรุปผลการดำเนินงาน ปีละ 1 ครั้ง (ประเมินผลการดำเนินงาน)

- กำหนดวันประชุมของอำเภอ - ประสานโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ - ใช้งบประมาณของจังหวัด - ส่งโรงเรียนเข้ารับการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบดีเด่น ระดับจังหวัด - เกณฑ์การดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ สสจ.จะจัดส่งให้ใน ภายหลัง

ตัวชี้วัดจังหวัด ปี 57  ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในการควบคุม การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

คำอธิบายตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จ หมายถึง การดำเนินงานควบคุม การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ โดยกำหนดเป็นกิจกรรมการดำเนินงาน แบ่งการให้ คะแนนเป็น 10 คะแนน โดยทุกหน่วยงานต้องมีผล การดำเนินงาน 8 คะแนนขึ้นไป

คำอธิบายตัวชี้วัด (ต่อ) หน่วยงาน หมายถึง โรงพยาบาลสุรินทร์/ โรงพยาบาลชุมชน/สาธารณสุขอำเภอ

คำอธิบายตัวชี้วัด (ต่อ) การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ หมายถึง การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เรื่องโทษ พิษภัย ของบุหรี่-เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเฝ้าระวัง ตรวจเตือน ตรวจสอบ และบังคับใช้กฎหมาย ตาม พรบ. 3 ฉบับ

คำอธิบายตัวชี้วัด (ต่อ)  สถานที่สาธารณะ ประกอบด้วย 1. สถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง โรงพยาบาลของรัฐ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก ร้านขายยา นวดแผนไทย/แผนโบราณ และสปาเพื่อสุขภาพ 2. สถานที่ราชการ หมายถึง ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานสาธารณสุข อำเภอ เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล 3. สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนของรัฐทั้งหมดทุกแห่ง 4. ตลาด หมายถึง ตลาด (ถาวร) ในพื้นที่รับผิดชอบ 5. สถานีขนส่ง หมายถึง สถานีขนส่งสาธารณะในพื้นที่รับผิดชอบ 6. ร้านอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร อาหารและ เครื่องดื่มที่มีและไม่มีระบบปรับอากาศ

คำอธิบายตัวชี้วัด (ต่อ) การดำเนินงานตามเกณฑ์ หมายถึง มีกิจกรรม ดังนี้ 1 มีการจัดทำฐานข้อมูล ร้านค้าและสถานที่สาธารณะ 2 มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ และมีการจัดประชุม คณะกรรมการระดับอำเภอ 3 มีการดำเนินงานตามแผน/โครงการ โดยมีการรับเรื่อง ร้องเรียน การตรวจเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมาย การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโทษพิษภัย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4 มีผลการดำเนินงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และยาสูบตามเป้าหมายที่กำหนด 5 มีการสรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

คำอธิบายการให้คะแนนแนวทางการประเมิน 1. มีการจัดทำฐานข้อมูล กลุ่มเป้าหมายที่ต้องดำเนินการ เฝ้า ระวัง ได้แก่ 1.1 ทะเบียนผู้จำหน่ายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และยาสูบ 1.2 ทะเบียนสถานที่สาธารณะที่ กำหนดให้เป็นเขตปลอดเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และยาสูบ 6 ประเภท ดังนี้ 1) สถานบริการสาธารณสุขและ ส่งเสริมสุขภาพ 2) สถานที่ราชการ 3) สถานศึกษา 4) ตลาด 5) สถานีขนส่ง 6) ร้านอาหาร 1.1 มี = 1 คะแนน ไม่มี = 0 คะแนน 1.2 -มีฐานข้อมูลครบทุกกลุ่ม = 1 คะแนน -มีฐานข้อมูลไม่ครบทุกกลุ่ม = 0.5 คะแนน -ไม่มีฐานข้อมูล = 0 คะแนน

คำอธิบายการให้คะแนนแนวทางการประเมิน 2. การจัดทำแผนและจัดประชุม คณะกรรมการที่แต่งตั้ง 2.1 มีการจัดทำแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมการควบคุม การบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และยาสูบในระดับ พื้น 2.2 มีการจัดประชุม คณะกรรมการระดับอำเภอ และ สรุปการประชุมที่สมบูรณ์ เพื่อ วางแผน กำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน 2.1 มีการจัดทำแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมการควบคุม การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบในระดับพื้น มี = 1 คะแนน ไม่มี = 0 คะแนน 2.2 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ระดับอำเภอครอบคลุมทุกส่วนที่ เกี่ยวข้อง และมีการประชุม คณะทำงาน ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง และสรุปการ ประชุมที่สมบูรณ์ ดำเนินงาน มี = 1 คะแนน ไม่มี = 0 คะแนน

คำอธิบายการให้คะแนนแนวทางการประเมิน 3. มีการดำเนินงานตาม แผนงาน/โครงการ โดยมีการ รับเรื่องร้องเรียน การตรวจเฝ้า ระวังและบังคับใช้กฎหมาย การ รณรงค์และประชาสัมพันธ์รู้ เรื่องโทษพิษภัยและกฎหมายที่ เกี่ยวข้องแก่ประชาชนและ นักเรียน 3.1 การรับเรื่องร้องเรียน การ ตรวจเฝ้าระวังและบังคับใช้ กฎหมาย มี = 1 คะแนน ไม่มี = 0 คะแนน 3.2การรณรงค์และ ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องโทษ พิษภัยและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มี = 1 คะแนน ไม่มี = 0 คะแนน

คำอธิบายการให้คะแนนแนวทางการประเมิน 4. มีผลการดำเนินงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และยาสูบตามเป้าหมาย 4.1 ร้านค้าจำหน่ายบุหรี่-สุรามีการติดป้าย ประชาสัมพันธ์ไม่จำหน่ายบุหรี่แก่ผู้ที่อายุต่ำกว่า 18 ปีและไม่จำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แก่ผู้ที่อายุต่ำ กว่า 20 ปี ร้อยละ สถานที่สาธารณะที่กำหนดจัดเป็นเขตปลอด บุหรี่ และห้ามบริโภค ห้ามจำหน่ายและไม่มีการ โฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ตามกฎหมาย 1)สถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100 2) สถานที่ราชการ ร้อยละ 90 3) สถานศึกษา ร้อยละ 90 4) ตลาด ร้อยละ 100 5) สถานีขนส่ง ร้อยละ 100 6) ร้านอาหาร ร้อยละ มีผลการดำเนินงาน - ≥ร้อยละ 90 = 1 คะแนน - <ร้อยละ 90 = 0.5 คะแนน - ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน 4.2 พิจารณารายละเอียดจากการ สรุปผลการดำเนินงาน - ได้ตามเป้าหมายทุกกลุ่ม = 1 คะแนน - ได้ตามเป้าหมายไม่ครบทุกกลุ่ม = 0.5 คะแนน - ไม่ได้ดำเนินการ = 0 คะแนน

คำอธิบายการให้คะแนนแนวทางการประเมิน 5. การสรุปและรายงานผลการ ดำเนินงาน 5.1 มีการรายงานผลการ ดำเนินงาน 5.2 มีการสรุปและวิเคราะห์ผลการ ดำเนินงาน/ปัญหาอุปสรรค/แนว ทางแก้ไขการดำเนินงานที่ผ่านมา 5.1 การรายงานผลการดำเนินงาน -มีการรายงานครบทุกไตรมาส = 1 คะแนน -มีการรายงานไม่ครบทุกไตรมาส = 0.5 คะแนน -ไม่มีการรายงาน = 0 คะแนน 5.2 มีการสรุปและวิเคราะห์ผลการ ดำเนินงาน/ปัญหาอุปสรรค/แนว ทางแก้ไข -มี = 1 คะแนน -ไม่มี = 0 คะแนน

แหล่งข้อมูล - ทะเบียนร้านค้าที่จำหน่ายบุหรี่และสุรา - ทะเบียนสถานที่สาธารณะ - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - รายงาน ตจ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน - บันทึกการออกปฏิบัติงาน/ภาพกิจกรรม - การสุ่มประเมินในพื้นที่

1. นางสาวโสภิตา เหมาะหมาย เบอร์มือถือ : Facebook : Sophita Mormai 2. นางสาวกชพรรณ วรรณศิริ เบอร์มือถือ : Facebook : E-noonate Boonsiri Line ID : noonate7735 ติดต่อผู้รับผิดชอบงาน สสจ.

สวัสดีค่ะ