นายแพทย์อดิเกียรติ เอี่ยมวรนิรันดร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สกลนครโมเดล.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
สรุปผลความก้าวหน้าผล การเบิกจ่าย งบประมาณ พ. ศ 2558 จังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูล วันที่ 20 เมษายน 2558.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
ข้อมูลสถานะสุขภาพ อำเภอสำโรง คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอสำโรง.
โรงพยาบาลนามน ขอ ต้อนรับ ด้วยความยินดียิ่ง
กำเนิดทหาร : นตท. รุ่น ๒๗ จปร. รุ่น ๓๘ ผู้นำตรวจด้านการดูแลสวัสดิการของกำลังพลชั้นผู้น้อย ข้อ ๒. ๑ - ๒. ๖ พันตรี เฉลิมพล ศรี ภา นายทหารเตรียมการฯ.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์อดิเกียรติ เอี่ยมวรนิรันดร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี

นพ.ประกอบ ลือชาเกียรติศักดิ์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาระบบบริการ และสนับสนุนบริการสุขภาพ รองผู้อำนวยการ นพ.สุวิชา ศฤงคารพูนเพิ่ม กลุ่มภารกิจ ด้านบริการปฐมภูมิ

นายธนกฤต มณีรัตน์ กลุ่มภารกิจด้านอำนวยการ นางมุจลินทร์ บุญโอภาส กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล พญ.อัฉรา รอดเกิด กลุ่มภารกิจด้าน ผลิตบุคลากรทางการแพทย์ รองผู้อำนวยการ

วิสัยทัศน์ เป็นโรงพยาบาลศูนย์ที่มีคุณภาพชั้นนำระดับประเทศวิสัยทัศน์ พันธกิจ 1. พัฒนาคุณภาพบริการทางการแพทย์เฉพาะทาง และเฉพาะ ทางชั้นสูง 2. พัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพภาคใต้ตอนบน 3. พัฒนาระบบบริการจัดการสู่ความเป็นเลิศ 4. พัฒนาองค์ความรู้งานวิจัยที่มีคุณภาพ และเป็นสถาบันร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์พันธกิจ 1. พัฒนาคุณภาพบริการทางการแพทย์เฉพาะทาง และเฉพาะ ทางชั้นสูง 2. พัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพภาคใต้ตอนบน 3. พัฒนาระบบบริการจัดการสู่ความเป็นเลิศ 4. พัฒนาองค์ความรู้งานวิจัยที่มีคุณภาพ และเป็นสถาบันร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์

จำนวนผู้รับบริการ (รวมเครือข่าย)

จำนวนผู้รับบริการเฉลี่ยต่อวัน รพ.สฎ.

อัตราการครองเตียง

10 อันดับโรค ผู้ป่วยนอก ปีงบฯ 2558

10 อันดับโรค ผู้ป่วยใน ปีงบฯ 2558

10 อันดับโรค ผู้ป่วยในเสียชีวิต ปีงบฯ 2558

ระยะวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยใน รพ.สฎ.

อัตราเสียชีวิตผู้ป่วยใน รพ.สฎ.

อัตรากำลังปฏิบัติงานจริง  ข้าราชการ 1,069 คน  ลูกจ้างประจำ 217 คน  ลูกจ้างชั่วคราว 256 คน  พนักงานกระทรวง 813 คน  พนักงานราชการ 44 คน  แพทย์ 122 คน  ลาศึกษา 43 คน  พยาบาล 680 คน  ข้อมูล1/7/58 รวม 2,399 คน

สถานะทางการเงินตามเกณฑ์คงค้าง ดัชนีวิเคราะห์สภาพคล่องเกณฑ์ปี 2554ปี 2555ปี 2556ปี 2557ปี อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio)  อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio)  อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สิน หมุนเวียน >1> (ณ กันยายน 2558)

CMI

ร้อยละ ผป. ใน รพ.สฎ แยกตามค่า CMI F1-F3 M2 M1S A

ศักยภาพด้านการรักษาพยาบาล  การให้บริการระดับปฐมภูมิ  การให้บริการระดับทุติยภูมิ  การให้บริการระดับตติยภูมิ  การให้บริการระดับตติยภูมิชั้นสูง

1. สาขาทารกแรกเกิด 2. สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด 3. สาขาโรคมะเร็ง 4. สาขาอุบัติเหตุและบาดเจ็บที่ศีรษะ 5. สาขาโรคไต ตติยภูมิขั้นสูง 5 สาขา

1. สาขาทารกแรกเกิด 7. สาขาโรคเรื้อรัง 2. สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด 8. สาขาทันตกรรม 3. สาขาโรคมะเร็ง 9. สาขา 5 สาขาหลัก 4. สาขาอุบัติเหตุและบาดเจ็บที่ศีรษะ10. สาขาปฐมภูมิองค์รวม 5. สาขาโรคไต/ตา11. สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู 6. สาขาจิตเวช12. สาขารังสีวิทยา/รังสีร่วม รักษา Service plan เขตบริการสุขภาพที่ สาขา

ศูนย์โรคหัวใจ และหลอดเลือด

Outcome Outcome

Class Total Outcome of open-heart surgery

Cath Lab CAG PCI Rt+Lt Heart Cath TEVAR EVAR Outcome

Non - invasive ECHO4,1894,4954,6645,477 5,991 5,589 EST HOLTER Outcome

การรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac Arrhythmia) การรักษาผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ

การรอคิวผ่าตัดหัวใจ ระยะเวลา(วัน) ณ 30 กันยายน จำนวนผู้ป่วย ณ 30 กันยายน จำนวนเสียชีวิต ระหว่างรอ คน(%) 3(1.72)5(2.31)6(2.71)6(2.29) อัตราเสียชีวิต คน(%)10(3.01)12(3.49)9(2.94)9(2.97)

จังหวัดจำนวน รพ. ให้ SK ได้ (จังหวัด) สุราษฏร์ธานี (100%) นครศรีธรรมราช19344 ชุมพร11222 ระนอง5111 ภูเก็ต3133 (100%) พังงา (100%) กระบี่8118 (100%) เขต

ผลการดำเนินงาน STEMI จำนวนผู้ป่วย STEMI อัตราการเข้าถึงบริการการขยายหลอดเลือด อัตราการการได้รับยา อัตราการการทำ Primary PCI อัตราการได้รับยาภายใน 30นาที อัตราการการขยายหลอดเลือดภายใน 90นาที อัตราการตายของผู้ป่วย STEMI

ศูนย์บริการทารกแรกเกิดภาวะวิกฤติ ศูนย์บริการทารกแรกเกิดภาวะวิกฤติ (NEWBORN CENTER) ศูนย์บริการทารกแรกเกิดภาวะวิกฤติ ศูนย์บริการทารกแรกเกิดภาวะวิกฤติ (NEWBORN CENTER)

เป้าหมายการให้บริการด้านทารกแรกเกิด เป็นศูนย์รองรับทารกป่วยในภาคใต้ตอนบน เพิ่มศักยภาพการดูแลทารกแรกเกิด ให้ทัดเทียมโรงเรียน แพทย์ชั้นนำของประเทศ ลดอัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด พัฒนาระบบการส่งต่อทารกในเครือข่าย พัฒนาการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดแบบครบวงจร เพื่อให้ทารกที่รอดชีวิต มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ สมบูรณ์

เครือข่ายบริการเขต 11 แนวทางการส่งต่อทารกแรกเกิดภายในเครือข่าย รพ.ระนอง  รพ.ชุมพร  รพ.สุราษฎร์ธานี รพ.พังงา  รพ.ภูเก็ต  รพ.สุราษฎร์ธานี รพ.กระบี่  รพ.สุราษฎร์ธานี กุมารแพทย์โรคหัวใจ ; รพ.สุราษฎร์ธานี กุมารศัลยแพทย์ ; รพ.สุราษฎร์ธานี รพ.ภูเก็ต รพ. มหาราชนครศรีธรรมราช ศัลยกรรมทรวงอก ; รพ.สุราษฎร์ธานี กุมารแพทย์โรคหัวใจ ; รพ.สุราษฎร์ธานี กุมารศัลยแพทย์ ; รพ.สุราษฎร์ธานี รพ.ภูเก็ต รพ. มหาราชนครศรีธรรมราช ศัลยกรรมทรวงอก ; รพ.สุราษฎร์ธานี

สถิติการให้บริการด้านทารกแรกเกิด

จำนวนทารกป่วยที่เข้ารักษาใน NICU และ Sick Newborn ปีงบประมาณ

จำนวนทารกเกิดมีชีพน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

อัตราการรอดชีวิตของทารกน้ำหนักน้อยกว่า 1,000 กรัม ที่เข้ารับการรักษาในหอทารกแรกเกิดวิกฤต

อัตราการรอดชีวิตของทารกน้ำหนัก 1,000 – 1,499 กรัม ที่เข้ารับการรักษาในหอทารกแรกเกิดวิกฤต

อัตราการรอดชีวิตของทารกน้ำหนัก 1,500 – 2,499 กรัม ที่เข้ารับการรักษาในหอทารกแรกเกิดวิกฤต

อัตราการรอดชีวิตของทารกน้ำหนัก มากกว่าหรือเท่ากับ 2,500 กรัม

ทารกแรกเกิดที่ถูกส่งต่อ (Refer In) มาโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี

ทารกที่ส่งต่อไป โรงพยาบาลที่ศักยภาพสูงกว่า

อัตราการเกิดภาวะจอประสาทตาผิดปกติ (ROP) ในทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,000 กรัม ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2558

ศูนย์โรคมะเร็ง

สุราษฎร์ธานี ชุมพร กระบี่ นครศรีธรรมราช พังงา ระนอง ภูเก็ต การให้บริการระดับตติยภูมิชั้นสูง สุราษฎร์ธานี บริการตติยภูมิขั้นสูงครอบคลุมประชากรเครือข่ายบริการ สุขภาพที่ 11 ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง รวมประชากร 5,226,870 คน (ประชากรกลางปี 2555) ประชากรแฝง 1,000,0000 คน นักท่องเที่ยว 1,000,0000 คน การให้บริการระดับตติยภูมิชั้นสูง สุราษฎร์ธานี บริการตติยภูมิขั้นสูงครอบคลุมประชากรเครือข่ายบริการ สุขภาพที่ 11 ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง รวมประชากร 5,226,870 คน (ประชากรกลางปี 2555) ประชากรแฝง 1,000,0000 คน นักท่องเที่ยว 1,000,0000 คน การบริการด้านโรคมะเร็ง ในเขตภาคใต้ตอนบน

บุคลากรทางการแพทย์ที่ให้การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง แพทย์40คน พยาบาลผ่านการอบรมการฉีดยาเคมีบำบัด20 คน เภสัชกรและเจ้าหน้าที่ผสมยาเคมีบำบัด3คน เจ้าหน้าทีเวชสถิติ 1คน เจ้าหน้าที่พยาธิวิทยาคลินิก2คน เจ้าหน้าที่ธุรการ1คน

สถานที่ให้บริการผู้ป่วยมะเร็ง Day care unit1Unit หอผู้ป่วยเคมีบำบัด 1หอ (ผู้ใหญ่) ห้องผ่าตัดโรคมะเร็ง 14ห้อง (ใช้รวมกันทั้ง รพ.)

การรักษา ผู้ป่วยพบใหม่ (คน)1,3541,2031,252 ผู้ป่วยทั้งหมด (เก่า+ใหม่) (คน)10,20911,41212,664 ผู้ป่วยที่มารับบริการ (ครั้ง)25,89525,82831,659 ผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในรพ. (คน)2,7402,8492,673 ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด (ครั้ง)8,2808,9169,092 ผู้ป่วยมะเร็งที่ส่งต่อนอกเขตสุขภาพ (ราย) จำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็ง (พ.ศ.2556 – 2558)

49 โครงการ “กองทุนบ้านปันรักเพื่อผู้ป่วยโรคมะเร็ง” ดร.พัชรพร สกุลพงศ์ ผู้เชี่ยวชาญ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ ธานี

ศูนย์ตติยภูมิด้านอุบัติเหตุ รพ.สฎ. ( Trauma center) ( Trauma center) ศูนย์ตติยภูมิด้านอุบัติเหตุ รพ.สฎ. ( Trauma center) ( Trauma center) การบริการแพทย์ฉุกเฉิน ศูนย์กู้ชีพตาปี (EMS) Emergency Medical Service DMAT คุณภาพ MERT คุณภาพ EMSS คุณภาพ DMAT คุณภาพ MERT คุณภาพ EMSS คุณภาพ

เครือข่ายบาดเจ็บที่ศีรษะ เขตฯ 11

ผลการดำเนินงาน ผู้บาดเจ็บทั้งหมด ณ ER19,75519,54818,95118,232 รับการส่งต่อ7,9677,8297,6517,240 รับไว้รักษาใน รพ.6,2417,8267,5466,912 ให้บริการ EMS -ALS ให้บริการ BLS เสียชีวิต - ก่อนถึง รพ./ER/ใน รพ. 245/37/263150/45/23781/51/205NA จำนวนผู้ป่วยอุบัติเหตุ

อัตราตาย ผป.ใน Trauma cases – รพ.สฎ.

ศูนย์ปลูกถ่ายไต (TRANSPLANT CENTER) ศูนย์ปลูกถ่ายไต

Kidney center HD. – อ.เมือง 33 เครื่อง รพ.สฎ. 15รพ.ทักษิณ 16รพ.ค่ายฯ 15เครื่อง – อ.สมุย 11 เครื่อง รพ.สมุย 4รพ.กรุงเทพสมุย 3 รพ.ไทยอินเตอร์ 4 เครื่อง – พัฒนา แพทย์ ทำ vascular access – พัฒนา พยาบาลไตเทียม

KT. พัฒนา รพ.สฎ. ให้เป็น – ศูนย์ รับบริจาคอวัยวะ – ศูนย์ ปลูกถ่ายอวัยวะ – ครอบครัวบริจาคอวัยวะ Kidney center

ผู้รับบริการ ฟอกเลือด - ฉุกเฉิน(ครั้ง) - เรื้อรัง 2,574 4,583 3,067 4,590 3,245 4,765 3,639 4,891 2,025 5,925 3,516 4,899 2,652 5,495 ล้างไตทางช่องท้อง (ราย) เจาะเนื้อไตส่งตรวจ (ครั้ง) ล้างน้ำเหลือง (ครั้ง) ใส่สายสวนหลอดเลือดคำ (ครั้ง) ผ่าตัดปลูกถ่ายไต (ราย) TRANSPLANT CENTER

จักษุ

สาขาจักษุ คัดกรอง DR 19 อำเภอ จัดเป็น 2 รอบ รอบแรก เจ้าหน้าที่คัดกรองเองโดยมีพยาบาลเวชปฏิบัติจาก โรงพยาบาล สุราษฎร์ธานีไปช่วยเป็นพี่เลี้ยงในบางอำเภอ มีตรวจเจอตั้งแต่ ระดับ MOD DR ขึ้นไป นัดรอตรวจพบจักษุแพทย์ซึ่งจะไปตรวจให้ใน โรงพยาบาลอำเภอ

Cataract ให้แต่ละ รพ.สต. ค้นหาผู้ป่วยตามัวโดยให้นับนิ้ว แล้วส่งมา โรงพยาบาลอำเภอ ส่งยอดให้ สสจ. ส่งต่อให้โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จัดแพทย์พยาบาลทีมจักษุ คัดกรองนัดผ่าตัดที่โรงพยาบาลอำเภอ เพื่อ ทำการผ่าตัดที่โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี

เดือน ระยะเวลารอคอย (วัน) ระดับสายตา VA< 10/200ผ่าตัด ภายใน 30 วัน ระดับสายตา VA< 20/200ผ่าตัด ภายใน 90 วัน ก.ค-5820 วัน26 วัน ส.ค วัน22.64 วัน ก.ย วัน19.43 วัน ตารางแสดงระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจก

พัฒนาศักยภาพของ รพ. M 2 : การผ่าตัดไส้ติ่ง, C/S 63 ระดับ รพ. รพ.ผ่าตัดไส้ติ่งผ่าตัดคลอดร้อยละ M1 (1แห่ง) เกาะสมุย√√100 M2 (4แห่ง)กาญจนดิษฐ์√√ ไชยาOO25 ท่าโรงช้างOO รพ.เวียงสระO√

แพทย์จากรพ.สุราษฎร์ธานีไปผ่าตัดที่ รพ.กาญจนดิษฐ์

การผ่าตัดทีมรพ.สุราษฎร์ธานีที่ รพ.กาญจนดิษฐ์ กันยายน2557-มิถุนายน2558ผ่าตัดเล็ก 1 excision breast mass4 2 excision sebaceous cyst1 3 release trigger3 4 release CTS4 5 circumcision1

ผ่าตัดใหญ่ 1 V-Y parafinoma1 2 explor testicular mass1 3 fitulectomy5 4 herniorrahy17 5 penectomy1 6 hydrocelectomy1

7 orchidectomy4 8 AVF1 9 Thyroid lobectomy13 10 MRM4 11 cystolithotomy5 12 ureterolithotomy 2 รวม ทั้งหมด82 ราย ผ่าตัดใหญ่

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี SERVICE PLAN ในอนาคต

แผนพัฒนาโครงสร้าง โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ตามผังหลัก (Master Plan) ดังนี้ อาคารรังสีวินิจฉัย รักษา ชันสูตร คลอด ผ่าตัด ผู้ป่วยหนัก ศูนย์โรคหัวใจ และโรคมะเร็ง 7 ชั้น ปี 2556 (1) อาคารพัก เจ้าหน้าที่ 88 ยูนิต 8ชั้น(4) อาคารผู้ป่วย 598 เตียง 8 ชั้น ปี 2558 (2) อาคารผู้ป่วยนอก 7 ชั้น ปี 2559 (3) อาคารสนับสนุน 16 ชั้น ปี 2559 (4)