1 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนวิชาลูกเสือของครูวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน โดย : นายสุชิน เกตุแก้ว ผลงานวิจัยประเภทสถาบัน
ความเป็นมาและความสำคัญ ของปัญหา 2 พระราชบัญญัติการศึกษา กระทรงศึกษาธิการ สถานศึกษา ความพึงพอใจ กิจกรรมลูกเสือ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูที่มี ต่อการจัดกิจกรรมลูกเสือวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน
สมมติฐานการวิจัย ระดับความพึงพอใจของครูที่มีต่อการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสือ วิสามัญวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชนแตกต่างกัน 4
กรอบแนวคิดการวิจัย 5 ตัวแปรต้นตัวแปรตาม ปัจจัยบุคคล เพศ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน ประเภทวิชา 1. ครูช่างอุตสาหกรรม 2. ครูพาณิชยกรรม ความพึงพอใจของครูต่อการจัดกิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยี หมู่บ้านครู 1.ด้านการวางแผน 2.ด้านการจัดบุคลากร 3.ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.ด้านการจัดงบประมาณ สื่อและวัสดุ อุปกรณ์ 5.ด้านการวัดและประเมินผล ที่มา: Gulick and Urwick. 1973, อ้างถึงใน เรือง ศิลป์ นิราราช : 14 – 15)
นิยามศัพท์เฉพาะ 6 ความพึงพอใจของครู หมายถึง เป็นความรู้สึกที่อยู่ข้างในของครูวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ที่มีผลต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนวิชาลูกเสือวิสามัญ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาลูกเสือ หมายถึง แผนการเรียนการสอนวิชาลูกเสือ การ จัดตารางสอน การจัดชั้นเรียน การจัดครูเข้าสอน การจัดกิจกรรมอยู่ค่ายพักแรม เดินทางไกลนอกสถานที่ การจัดหนังสือแบบเรียน และการนิเทศการสอน ด้านการวางแผน หมายถึง แนวทางในการดำเนินงาน การกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการเรียนการ สอนกิจกรรมลูกเสือ เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติตาม ตลอดจนใช้ในการติดตามและ ควบคุมการปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอนและการปกครองลูกเสือ ด้านการจัดบุคลากร หมายถึง การจัดบุคลากรตามโครงสร้างของกลุ่มกองลูกเสือใน โรงเรียน โดยดำเนินการตามระเบียบข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ ด้านการจัดการเรียนการสอน หมายถึง แผนการเรียนการสอน การจัดตารางสอน การจัดชั้น เรียน การจัดครูเข้าสอน การจัดกิจกรรมสอนเสริม การจัดหนังสือแบบเรียน และการนิเทศการสอน โดย มุ่งเน้นผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเอง ด้านการจัดงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ หมายถึง การจัดหางบประมาณซื้อวัสดุอุปกรณ์ เพื่อ ใช้ในการเรียนการสอนลูกเสือ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ซึ่งได้มาจากเงินบำรุงลูกเสือที่เก็บจากลูกเสือ จากเงิน บำรุงการศึกษาและจากเงินบริจาคจากภายนอก ด้านการประเมินผล หมายถึง การประเมินผลการเรียนการสอนด้วยวิธีการของลูกเสือและตาม ระเบียบว่าด้วยการประเมินผลของกระทรวงศึกษาธิการ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของครูที่ มีต่อการบริหารกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน 2. สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปวางแผนการบริหาร กิจกรรมลูกเสือให้มีประสิทธิ์ภาพมากขึ้น 7
8 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ ความหมายของ ความพึงพอใจ ทฤษฏีเกี่ยวกับความ พึงพอใจ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการบริหาร ความหมายของ การบริหาร ทฤษฏีเกี่ยวกับ การบริหาร กิจกรรมลูกเสือ แนวทางการจัด กิจกรรมลูกเสือ ข้อมูลวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยใน ประเทศ งานวิจัย ต่างเทศ ประวัติวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมลูกเสือในวิทยาลัย
ประชากร ครูที่อยู่ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2557 จำนวน 110 คน ที่มา : ฝ่ายทะเบียนวิทยาเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถาม ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 3 ข้อมูลส่วนบุคคล ความพึงพอใจของครูที่มีต่อ การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนลูกเสือวิสามัญวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 10
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 11 สถานภาพจำนวนร้อยละ เพศ ชาย หญิง วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ประสบการณ์ทำงาน ต่ำกว่า 5 ปี 5 – 9 ปี 10 – 14 ปี 15 – 19 ปี 20 – 24 ปี 24 ปี ขึ้นไป จากตารางที่ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ เป็นเพศ ชายที่เหลือร้อยละ เป็นเพศหญิง ประมาณร้อยละ 95 มีวุฒิการศึกษาปริญญา ตรี รองลงมาร้อยละ 5 มีวุฒิการศึกษาปริญญาโท ประมาณร้อยละ มี ประสบการณ์ทำงานในตำแหน่ง 10 – 14 ปี รองลงมาต่ำกว่า 5 ปี ประมาณร้อยละ ร้อยละ มีประสบการณ์ทำงานในตำแหน่ง ปี ที่เหลือกระจายอยู่ ระยะเวลา 5 – 9 ปี ปี และ 24 ปีขึ้นไปในอัตราส่วนเท่ากัน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล(ต่อ) 12 ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนวิชาลูกเสือ ระดับความพึงพอใจ µαแปลผล 1. ด้านการวางแผน 2. ด้านบุคลากร 3. ด้านการจัดการเรียนการสอน 4. ด้านการจัดงบประมาณ และ วัสดุอุปกรณ์ 5. ด้านการประเมินผล ปานกลาง น้อย ปานกลาง รวม ปานกลาง จากตารางที่ พบว่า โดยรวมความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชา ลูกเสือของครูวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชนอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ความพึงพอใจ ของครู อยู่ในระดับปานกลาง 4 ด้าน คือ เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการจัดการเรียนการสอน (μ = 3.38) ด้านการวางแผน (μ = 3.19) ด้านการ ประเมินผล (μ = 3.15) ด้านการจัดงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ (μ = 2.85) และ ระดับน้อย 1 ด้าน คือ ด้านบุคลากร (μ = 2.33)
สรุปผลการวิจัย สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ เป็นเพศชายที่เหลือร้อยละ เป็นเพศหญิง ประมาณร้อยละ 95 มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี รองลงมาร้อยละ 5 มีวุฒิ การศึกษาปริญญาโท ประมาณร้อยละ มีประสบการณ์ทำงานในตำแหน่ง 10 – 14 ปี รองลงมาต่ำกว่า 5 ปี ประมาณร้อยละ ร้อยละ มีประสบการณ์ทำงานในตำแหน่ง ปี ที่เหลือกระจายอยู่ระยะเวลา 5 – 9 ปี ปี และ 24 ปีขึ้นไปในอัตราส่วนเท่ากัน 2. ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาลูกเสือของครูวิทยาลัยเทคโนโลยี หมู่บ้านครู จากผลของการวิเคราะห์ปรากฏว่าความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของครูวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 4 ด้าน ระดับน้อย 1 ด้าน จึงขอ สรุปผลงานวิจัยเป็นลำดับดังนี้ 2.1 ด้านการวางแผน มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมของครูวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้าน ครู อยู่ในระดับที่ปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าความพึงพอใจด้านการวางแผนในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน อยู่ในระดับที่หนึ่ง พึงพอใจ โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงเป็นอันดับ 2 ของ การจัดลำดับจากมากไปหาน้อย การวางแผนของครูผู้สอนวิชาลูกเสือที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับ แรก ได้แก่ การจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือในวิทยาลัยตามระเบียบของสำนักงานคณะกรรมการลูกเสือ แห่งชาติ การกำหนดโครงการจัดกิจกรรมการเรียนกาสอนวิชาลูกเสือพร้อมผู้รับผิดชอบ และการ ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนวิชาลูกเสือเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มวุฒิภาวะให้สูงขึ้น 2.2 ด้านการจัดบุคลากร มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมของครูวิทยาลัยเทคโนโลยี หมู่บ้านครู อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 3 อันดับแรก พบว่า ครูมี การพิจารณาความดีความชอบเป็นกรณีพิเศษ ให้แก่ผู้กำกับลูกเสือที่มีผลงานทางลูกเสือครูที่เป็นผู้ กำกับลูกเสือเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาลูกเสือ
สรุปผลการวิจัย(ต่อ) ด้านการจัดการเรียนการสอนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมของครู วิทยาลัยเทคโนโลยี หมู่บ้านครู อยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณารายข้อพบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ มีความ พอใจต่อการมอบหมายภาระงานสอนวิชาลูกเสือให้ และภูมิใจเมื่อมีการจัดกิจกรรมลูกเสือทั้งในและนอก วิทยาลัยผู้กำกับลูกเสือต้องไปร่วมกิจกรรมเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรมกับลูกเสือทุกครั้งที่มีการจัด กิจกรรม 2.4 ด้านการจัดงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนของครูวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การจัดทำทะเบียนวัสดุอุปกรณ์และเอกสารของกองลูกเสือ โรงเรียนอย่างเป็นระบบ จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเอกสารของกองลูกเสือวิทยาลัยให้สะดวกต่อบุคคล ที่เกี่ยวข้องการสนับสนุน และการหาแหล่งการเรียนรู้สำหรับการเรียนการสอนวิชาลูกเสือ 2.5 ด้านการประเมินผล มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับ แรก ได้แก่ การประเมินผลการเรียนวิชาลูกเสือตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ (ฉบับที่13) พ.ศ.2537และเกณฑ์การประเมินผลกระทรวงศึกษาธิการกำหนดไว้ การจัดทำข้อมูลประเมินผล งานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาลูกเสือประจำปี การทดสอบความรู้ภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติเพื่อสรุปผลสัมฤทธิ์ของการจัดกิจกรรมตามหลักสูตรของข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2537
ข้อเสนอแนะ 15 1.ด้านการจัดการเรียนการสอน ควรมีการนิเทศการสอน ลูกเสืออย่างต่อเนื่อง 2. ด้านการวางแผน ควรมีการจัดประชุมวางแผนการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาลูกเสือเป็นประจำทุกเดือน 3. ด้านการจัดงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ ควรจัดหา จัดซื้อ เครื่องแบบ เครื่องหมายให้ครูผู้สอนวิชาลูกเสือ 4. ด้านบุคลากร ควรพิจารณาความดีความชอบเป็นกรณีพิเศษ ให้แก่ผู้กำกับลูกเสือที่มีผลงานด้านกิจกรรมลูกเสือ เพื่อเป็น ขวัญ และกำลังใจในการทำงานต่อไป 5. ควรใช้วิธีวิจัยแบบอื่นๆ เช่น การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือการ วิจัยแบบมีส่วนร่วม
ขอบคุณ ครับ