ผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” กลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ประเด็นที่ 1 ความพร้อมของโรงเรียน จัดตารางเรียน เพิ่มเวลารู้ ในช่วง เวลา ๑๔.๓๐ - ๑๕.๓๐ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ลดทอนเวลาเรียนจาก ๖๐ นาทีเป็นคาบ (๕๐ นาที) จัด “เพิ่มเวลารู้” ได้ในเวลา ๑๔.๔๐ น. - ๑๕.๓๐ น. ๑ ๒ ตารางเรียน ๔ ลักษณะ โรงเรียนจัดช่วงเวลา “เพิ่มเวลารู้”ได้หลายช่วงเวลา เช้า สาย บ่าย เย็น ๓ โรงเรียนอิสลามแบบเข้ม จัด๒หลักสูตรคู่ขนาน จัดได้ ๑,๒๐๐ ชั่วโมงต่อปี ๔
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กิจกรรมที่จัดใน ๔ ด้าน Head Heart Hand Health HEART HEAD HAND เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน HEALTH ๑. จัดกิจกรรมตามความสนใจของนักเรียน ๒. จัดกิจกรรมตามระดับชั้น ๓. จัดกิจกรรมแบบคละชั้น/ กลุ่มอายุ ๔. จัดยืดหยุ่นตามความพร้อมของโรงเรียน ๕ ปรับกิจกรรมตาม AAR ของโรงเรียน ๖ บูรณาการกิจกรรมให้เกิดเป้าหมาย ทั้ง Head Heart Hand Healthโดยใช้ H ด้านใดด้านหนึ่ง เป็นแกน ๗. จัดตามวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ เรียงตาม H Health เป็น วันๆ
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ภายในโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ สระว่ายน้ำ แปลงเกษตร ลานอเนกประสงค์ ลานธรรม สวนหย่อม บ่อเลี้ยงปลา สถานที่ราชการต่าง ๆ สถานประกอบการ เขื่อน ชลประทาน สวนสัตว์ ป่าชุมชน ป่าชายเลน ตลาด โบราณสถาน สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ในการจัดกิจกรรม
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ โรงเรียนขนาดเล็ก มีข้อจำกัด หลายด้าน ได้แก่ ด้านคน มีครูจำนวนน้อย ด้านงบประมาณ วัสดุ ไม่หลากหลาย จึงจัดกิจกรรมเป็นวัน เช่น จันทร์ HEAD อังคาร HAND พุธ HEART พฤหัส HEALTH ศุกร์ HEALTH HEAD HAND HEART โรงเรียนขนาดกลาง มีความพร้อม มีครูจำนวนพอเพียงกับกิจกรรม งบประมาณ วัสดุ หลากหลายจึงสามารถจัดกิจกรรมได้หลากหลาย โรงเรียนขนาดใหญ่ ครูมีความพร้อม งบประมาณ วัสดุ มีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการ จำเป็น จึงสามารถจัดกิจกรรมได้ตามความสนใจของผู้เรียน ครู
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ HEART HEAD HAND เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน HEALTH Health เป็นวันๆ ประเด็นที่ ๒ สัดส่วนการจักิจกรรม กิจกรรมที่ ส่งเสริม โรงเรียนขนาดใหญ่ ร้อยละ โรงเรียนกลาง ร้อยละ โรงเรียนขนาดเล็ก ร้อยละ Head ๓๐ - ๕๐๒๐ - ๔๐๑๐ - ๓๐ Heart ๑๕ - ๓๐๒๐ - ๔๐๑๐ - ๓๐ Hand ๑๕ - ๓๐๒๐ - ๕๐๑๕ - ๔๐ Health ๑๕ - ๓๐๒๐ – ๕๐๑๕ - ๕๐
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ประเด็นที่ ๓ หน่วยงานที่สนับสนุน หน่วยงานรัฐบาล หน่วยงานทางการศึกษา ในชุมชน เช่น วิทยาลัยการอาชีพ มหาวิทยาลัย หน่วยงานราชการต่างๆ เช่น โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีตำรวจ สำนักงานจังหวัด หน่วยงานรัฐบาล หน่วยงานทางการศึกษา ในชุมชน เช่น วิทยาลัยการอาชีพ มหาวิทยาลัย หน่วยงานราชการต่างๆ เช่น โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีตำรวจ สำนักงานจังหวัด การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ หน่วยงานที่สนับสนุน หน่วยงานเอกชน วิทยาลัยอาชีวะเอกชน สถานประกอบการ โรงแรม สถานบริการต่างๆ หน่วยงานเอกชน วิทยาลัยอาชีวะเอกชน สถานประกอบการ โรงแรม สถานบริการต่างๆ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ไปรษณีย์ การไฟฟ้า การประปา หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ไปรษณีย์ การไฟฟ้า การประปา
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ประเด็นที่ ๔ ข้อคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง นักเรียน ส่วนใหญ่มีความสุข สนุกสนาน พึงพอใจ นักเรียน ส่วนใหญ่มีความสุข สนุกสนาน พึงพอใจ ข้อคิดเห็น ครู ระยะแรก มีความสุข ระยะต่อมา เริ่มมีความกังวลกับภาระงาน การติดตามและการรายงานผล ครู ระยะแรก มีความสุข ระยะต่อมา เริ่มมีความกังวลกับภาระงาน การติดตามและการรายงานผล ผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีความสุข มีบางส่วนกังวลใจ ในการเตรียมพร้อมสอบเรียนต่อของบุตรหลาน ผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีความสุข มีบางส่วนกังวลใจ ในการเตรียมพร้อมสอบเรียนต่อของบุตรหลาน
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ HEART HEAD HAND กิจกรรมที่พัฒนาองค์รวม HEALTH ๑. กิจกรรมนักข่าวเยาวชน NPS News โรงเรียนบ้านหนองไผ่ดุสิตประชาสรรค์ จังหวัดขอนแก่น ๒. กิจกรรมมือปราบขยะพิทักษ์โลก โรงเรียนชุมชนบ้านอมฤต จังหวัดชุมพร ๓. กิจกรรมนักธุรกิจน้อย โรงเรียนเมืองกาญจน์ จังหวัดเชียงราย ๔. กิจกรรมจากฟักข้าว โรงเรียนบ้านหนองซ้ำซาก จังหวัดชลบุรีป็ ประเด็นที่ ๕ กิจกรรมที่พัฒนาองค์รวม
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ประเด็นที่ ๕ กิจกรรมที่พัฒนาองค์รวม ๕ กิจกรรมการทำขนมเตาอบ โรงเรียนบ้านวังกว้าง ๖ กระโดดเชือกสามร้อยห้าคน โรงเรียน วัดลำนาว นครศรีธรรมราช ๗ กิจกรรมบุญงานวัด สพป.นครราชสีมา ๘ กิจกรรมวิ่ง ๓๑ ขา โรงเรียนบ้านโนนทิยา ๙ กิจกรรมการสานพัด โรงเรียนชุมชนวัดลำพะเนียง สพป.อยุธยา ๑๐กิจกรรมสำนึกรักบ้านเกิด โรงเรียนวัดสว่างมนัส สพป.ชุมพร
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ พี่สอนน้อง เพื่อนสอนเพื่อน คลินิกหมอภาษา หนังสือเล่มเล็กพี่สอนน้องอ่าน อ่านแล้ววาดฉลาดอย่างสร้างสรรค์ คู่ Buddyพี่รหัส ไมค์ทองคำ ประเด็นที่ ๖ กิจกรรมติวเด็กเรียนอ่อน กิจกรรม ติว เด็กเรียนอ่อน กิจกรรม ติว เด็กเรียนอ่อน
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ หลักการจัดตามแนวทางของ สพฐ. - จัดตามนโยบาย รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดที่ ๑ บังคับ รวม ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง - ยึดตามโครงสร้างหลักสูตร - รายวิชาภาคปฏิบัติจัดในช่วงบ่าย - จัดตามบริบทของโรงเรียน ประเด็นที่ ๗ หลักการจัดตารางเรียน
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่างการจัดกิจกรรมตามหมวด ๔H - วันจันทร์ เน้นกิจกรรมที่ส่งเสริม Head - วันอังคาร เน้นกิจกรรมที่ส่งเสริม Heart - วันพุธ เน้นกิจกรรมที่ส่งเสริม Hand - วันพฤหัสบดี เน้นกิจกรรมที่ส่งเสริม Health - วันศุกร์ เน้นกิจกรรมที่ส่งเสริม องค์รวม Head Heart Hand Health ประเด็นที่ ๗ หลักการจัดตารางเรียน
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ สวัสดี