ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ECS (Emergency Care System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงสร้างการบริหารงานพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลราชบุรี คณะกรรมการอำนวยการบริหารจัดการพัฒนา คุณภาพ นายแพทย์ทรงพล ชวาลตันพิพัทธ์ ( ผู้อำนวยการ / ประธานกรรมการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
COMPETENCY DICTIONARY
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Palliative care.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ความหมายของการประกันคุณภาพการพยาบาล
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ระบบการตรวจราชการ และนิเทศงาน ปี 2555
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ฉุกเฉิน
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การบันทึกเพื่อส่งออก 43 แฟ้ม ข้อมูลผู้พิการ (DISABILITY)
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ECS (Emergency Care System) หมายถึง ระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วย ฉุกเฉินได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพ

ECS (Emergency Care System) การป้องกันก่อนเกิด (prevention), การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (pre hospital care), ต่อเนื่องถึง การดูแล ณ ห้องฉุกเฉิน (ER ), การดูแล รักษาใน โรงพยาบาล (In hospital care) / การดูแลเฉพาะ ทาง (Definitive care), การส่งต่อ (Inter hospital care/ Referral System) การจัดระบบบริบาลกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่ (Mass Casualties Incident) การเตรียมแผนรองรับภัยพิบัติ ของสถานพยาบาล / โรงพยาบาล (Disaster preparedness & Hospital preparedness for Emergency)

การพัฒนาห้องฉุกเฉิน ให้ได้คุณภาพ เป็นหนึ่งในนโยบายของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อ รองรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ และ ผู้ป่วยฉุกเฉิน ระยะ แรก เมื่อ พ.ศ. 2555 -2557 โรงพยาบาลแต่ละระดับ ทำการประเมินตนเอง (Self-Assessment) เพื่อทราบถึง จุดเด่น และ จุด อ่อน ที่ต้องการปรับปรุง โดย ยึด ตาม แนวทางสู่มาตรฐานของการพัฒนาห้องฉุกเฉิน ของกรมการ แพทย์ ซึ่งมี 12ประเด็น

The Process Prevention Out-of-Hospital In-Hospital Triage Detection Diagnosis Treatment Disposition Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention Detection Report Response On Scene Care Care on Transit Delivery to Definitive Care

ผลที่ผู้ใช้บริการควรได้รับ การลดอัตราตาย (Death) การลดความรุนแรงของโรค (Disease) การลดอัตราพิการ (Disability) การลดความทุกข์ทรมาน (Discomfort) การลดความไม่พึงพอใจ (Dissatisfaction) การลดค่าใช้จ่าย (Destitution)

ตัวชี้วัดในปี 2559 นี้ จะ เน้นใน 3 ส่วน คือ มิติที่ 1 มิติการบริหาร และนโยบาย หมายถึงการประเมิน ผู้อำนวยการ และทีมบริหาร เกี่ยวกับนโยบาย การสนับสนุนการพัฒนาระบบ รักษาพยาบาลฉุกเฉิน มิติที่ 2 มิติผู้ให้บริการ จะเน้น ในประเด็น ความพร้อมของทรัพยากร ได้แก่ อาคารสถานที่ บุคลากร ระบบการให้คำปรึกษา ระบบการดูแลผู้ป่วย อุบัติเหตุและฉุกเฉินในโรงพยาบาล การวิเคราะห์ข้อมูล มิติที่ 3 มิติด้านผู้รับบริการ คือ เน้นในด้าน ผลลัพธ์จากการเข้ารับบริการ รักษาพยาบาล (อ้างอิงนิยาม จากแนวทางการพัฒนาสู่มาตรฐานของห้องฉุกเฉิน จัดทำโดย กรมการแพทย์ โดยความร่วมมือจาก สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย และ สถาบันพัฒนาคุณภาพ)

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์เป้าหมาย   โรงพยาบาลประเมินตนเอง ใช้วิธีเปรียบเทียบข้อมูล ของตนเองในเขตสุขภาพ จากปี 2558 เทียบกับ ปี 2559 กลไกการตรวจนิเทศราชการปกติ และ/หรือ จากทีม ผู้เชี่ยวชาญ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย โรงพยาบาล ระดับ A,S,M,

ขั้นตอนการดำเนินงาน: ขั้นตอน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและจัดบริการ ระบบการ รักษาพยาบาล ฉุกเฉิน ในโรงพยาบาล ขั้นตอน 2. จัดทำคู่มือและแนวทางการประเมินตนเอง ในด้าน ER คุณภาพในรูปแบบเครือข่ายทั้งจังหวัด ขั้นตอน 3. จัดทำคู่มือและแนวทางการ ประเมินตนเอง ในด้าน ER คุณภาพ ในระดับเขตสุขภาพ ขั้นตอน 4. มีการประเมินตนเอง ตาม มิติต่างๆ และทราบถึงจุดแข็ง และ จุดด้อย ของระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินโรงพยาบาล เพื่อเป็นข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาสู่ คุณภาพ ด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินต่อไป