งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ฉุกเฉิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ฉุกเฉิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ฉุกเฉิน
สุรชัย ศิลาวรรณ ผู้อำนวยการสำนักจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉิน สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

2 กรอบภารกิจของงานการแพทย์ฉุกเฉิน
1.การป้องกันการเจ็บป่วยที่จะเกิดขึ้นฉุกเฉิน 2.การดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้เจ็บป่วย ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล (Pre hospital care) 3.การดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินใน โรงพยาบาล (In hospital care) 4.การดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินระหว่าง โรงพยาบาล ( Inter hospital care) 5.การดำเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินใน สถานการณ์เกิดภัยพิบัติ

3 ขั้นตอนการปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

4 ๑. การเจ็บป่วยฉุกเฉินและการพบเหตุ (Detection)
๒. การแจ้งเหตุขอความช่วยเหลือ (Reporting) ๓. การออกปฏิบัติการของชุดปฏิบัติการ ฉุกเฉิน (Response) ๔. การรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene care) ๕. การลำเลียงขนย้ายและให้การดูแล ระหว่างนำส่ง (Care in transit) ๖. การนำส่งสถานพยาบาล (Transfer to the definitive care)

5 ศูนย์สั่งการประจำจังหวัด ใกล้ที่สุดที่พร้อมรับ
วงจรการปฏิบัติงาน จุดเกิดเหตุ 1669,วิทยุ ศูนย์สั่งการประจำจังหวัด Report ภายใน 8-10 นาที กู้ชีพที่ใกล้ Center Hospital นำส่งโรงพยาบาล ใกล้ที่สุดที่พร้อมรับ

6

7

8 อำนาจหน้าที่ตามพรบ.การแพทย์ฉุกเฉิน พศ.2551
อำนาจหน้าที่ตามพรบ.การแพทย์ฉุกเฉิน พศ.2551 1.จัดทำมาตรฐาน หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน รวมทั้งกำหนดเกณฑ์และ วิธีการปฏิบัติการฉุกเฉิน 2.จัดให้มีระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมถึงการ บริหารจัดการ และการพัฒนาระบบสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประโชน์ในการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน 3.เป็นศูนย์กลางประสานกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ทั้งในและต่างประเทศที่ดำเนินการ เกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน 4.ประสาน ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติการ ฉุกเฉิน

9 สพฉ. และ JICA กำหนดลงนามร่วม 19 กพ. 2559
the Proposed Technical Cooperation Project Overall Goal ASEAN and Japan collaboration mechanism on disaster health management . Project Period 3 years Project Purpose 1. Coordination platform on disaster health management is set up. 2. Framework of regional collaboration practices is developed. 3. Tools for effective regional collaboration on disaster health management are developed. 4. Progress and outcomes of the Project are widely shared and disseminated. 5. Capacity on disaster health management strengthened in each AMS สพฉ. และ JICA กำหนดลงนามร่วม 19 กพ. 2559

10 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติร่วมกับประเทศญี่ปุ่น โครงการThe Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on Disaster Health Management (ARCH Project ) เป้าหมายสำคัญภายใน 3 ปี 1. การสร้างระบบประสานงานระหว่างประเทศ เมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติจะสามารถประสานงานกัน อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ส่งเสริมให้แต่ละประเทศมีทีมชุดปฏิบัติการทาง การแพทย์ในภาวะภัยพิบัติที่มีความชำนาญ สามารถออกไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11 วิธีดำเนินงาน 1.การประชุมร่วม 10 ชาติ ASEAN และญี่ปุ่น อย่างน้อยปีละ ครั้ง 2.การฝึกซ้อมแผนภัยพิบัติร่วมกันปีละครั้ง 3.การจัดทำร่างมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการภัยพิบัติ ทางการแพทย์และสาธารณสุขของภูมิภาค 4.การจัดทำฐานข้อมูลของทีมชุดปฏิบัติการทางการแพทย์ในภาวะภัย พิบัติ (DMAT) ของประเทศสมาชิก 5.การจัดทำโครงข่ายระบบประเมินความต้องการทางการแพทย์และ สาธารณสุขในภาวะภัยพิบัติจากพื้นที่ประสบภัย ในภูมิภาค 6.การนำเสนอผลการดำเนินงานในเวทีวิชาการระดับนานาชาติ เช่น JADM, APCDM และ WADEM 7.การจัดฝึกอบรมด้านระบบการแพทย์ฉุกเฉินและทีมชุดปฏิบัติการ ทางการแพทย์ให้แก่ประเทศสมาชิก

12 ผลลัพธ์ที่คาดหวัง 1. เกิดกลไกในการประสานความร่วมมือระหว่างกัน ใน ด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุข 2. มีแนวทางในการปฏิบัติการทางการแพทย์และ สาธารณสุขร่วมกัน ในกรณีภัยพิบัติ (SOP) 3. มีมาตรฐานการปฏิบัติการและมาตรฐานทีมช่วยเหลือ ทางการแพทย์ในภาวะภัยพิบัติของอาเซียน (SOP, Collaboration Tools and Minimum Requirement) 4. มีระบบประเมินความต้องการด้านการแพทย์และ สาธารณสุขในพื้นที่ประสบภัย (Health Need Assessment) 5. มีเครือข่ายวิชาการด้านระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการ จัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุข 6. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการแพทย์ฉุกเฉินและการ จัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ประเทศ สมาชิก

13 สิ่งที่ประเทศไทยจะได้รับ
1. ประเทศไทยจะมีบทบาทเป็นผู้นำในภูมิภาคอาเซียนในด้าน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ และสาธารณสุข 2. ประเทศไทยจะสามารถพัฒนาให้เป็นศูนย์ฝึกอบรมด้าน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ และสาธารณสุขของอาเซียน 3. ประเทศไทยมีโอกาสจะเป็นศูนย์ประสานปฏิบัติการด้าน การแพทย์ในภาวะภัยพิบัติของอาเซียน4. บุคลากรด้าน การแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในการบริหารจัดการและการปฏิบัติการทางการแพทย์ ฉุกเฉินในภาวะภัยพิบัติ 5. ภาคส่วนการแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะมี ความสามารถตอบสนองภัยพิบัติได้ดีขึ้น 6. ผู้ประสบภัยจะได้รับการช่วยเหลือทางการแพทย์และการ ดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

14 เป้าหมายด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ในสถานการณ์เกิดภัยพิบัติ
ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้รอด ชีวิตให้ได้มากที่สุด นำส่งผู้บาดเจ็บไป โรงพยาบาลที่ได้มาตรฐาน จนพ้น ภาวะวิกฤต ต้องไม่มีผู้บาดเจ็บ หรือเสียชีวิตเพิ่ม จากผู้ที่ประสบเหตุเดิม

15 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ฉุกเฉิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google